Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1784
Title: | Flood risk prevention guidelines from land use change in the future : Case Study Mun river past 3/5 Subbasin แนวทางการป้องกันความเสี่ยงอุทกภัยจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในอนาคต กรณีศึกษาพื้นที่ลำน้ำมูล ส่วนที่ 3/5 |
Authors: | Natchanon Amatyakul ณัฐชนน อมาตยกุล Sakkarin Sapu สักรินทร์ แซ่ภู่ Mahasarakham University. The Faculty of Architecture Urban Design and Creative Arts |
Keywords: | การคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่เสี่ยงอุทกภัย Forecasting Land Use Change Flood risk |
Issue Date: | 28 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This research is to study the Flood risk prevention guidelines from land use change in the future of Mun river past 3/5 Subbasin, Ubon Ratchathani. Nowadays, it is the center of economy, society and environment of Ubon Ratchathani and Northeast. There are also many growths and increase in urban areas which affect the area transformation. The study aims to monitor and forecast the changes of land use in 2008 - 2026, and direction of flood risk for guidelines of land use planning in Flood risk area.
The result reveals that Settlement and Land Use, the trend is going to be more urbanization. Most of them are developed in Linear Settlement. It can be clearly seen on Chayangkun Road. As a result, agricultural areas, miscellaneous areas and forest areas have been reduced and encroachment on the catchment area during the flooding that results in water obstruction. It is a barrier to drainage and flooding in urban areas. The Analysis of flood risk areas to suggest as a land use guideline with support the expansion from urban areas. Separate of the area into 4 types: unsuitable, Moderately limited, Limited and suitable development. งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแนวทางการป้องกันความเสี่ยงอุทกภัยและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในอนาคต กรณีศึกษาพื้นที่ลำน้ำมูล ส่วนที่ 3/5 ซึ่งในปัจจุบันเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมของจังหวัดอุบลราชธานี รวมถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้มีการเติบโตและขยายตัวของพื้นที่ชุมชนเมืองที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามและคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ปี พ.ศ. 2551 - 2569 ศึกษารูปแบบและทิศทางการเกิดอุทกภัยเพื่อเสนอแนะแนวทางการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย จากการศึกษา พบว่า การตั้งถิ่นฐานเชิงพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีแนวโน้มการพัฒนาพื้นที่ชุมชนในอนาคตมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนใหญ่เป็นการพัฒนาในรูปแบบเส้นตรง จะเห็นได้ชัดเจนบริเวณถนนชยางกูร ถนนแจ้งสนิท และบริเวณทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226 ส่งผลให้พื้นที่เกษตรกรรม เบล็ดเตล็ดและป่าไม้ในบริเวณเมืองลดลงและยังมีการรุกล้ำบริเวณพื้นที่รับน้ำในช่วงฤดูน้ำหลากที่ส่งผลให้กีดขวางทางน้ำ เป็นอุปสรรคต่อการระบายน้ำและเกิดปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนเมือง จากการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยมาเสนอแนะเป็นแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ออนุรักษ์พื้นที่รับน้ำควบคู่กับพื้นที่ที่สามารถรองรับการขยายตัวจากพื้นที่เมืองเดิมได้ สามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ ไม่เหมาะสมต่อการขยายตัวเมือง จำกัดการพัฒนาปานกลาง จำกัดการพัฒนาเล็กน้อย และ เหมาะสมต่อการพัฒนาเมือง |
Description: | Master of Architecture (M.Arch.) สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1784 |
Appears in Collections: | The Faculty of Architecture Urban Design and Creative Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61011180005.pdf | 15.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.