Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1821
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKongkrapan Chaitongsrien
dc.contributorคงกระพัน ไชยทองศรีth
dc.contributor.advisorSuravech Suteethornen
dc.contributor.advisorสุรเวช สุธีธรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2023-01-20T10:43:33Z-
dc.date.available2023-01-20T10:43:33Z-
dc.date.issued5/7/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1821-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractUsing of 3D model perform by the photogrammetric program has been developed with extremely high resolution in contrast to the cost of technology and equipments. This technique was applied to collect 3D data of petrified trees at Doi Soi Malai National Park. Tree number 1 (BT-1) has total length of 69 meters with 732 m2 of surface area Tree number 6 (BT-6) has total length of 34 meters with 302 m2 of surface area Tree number 7 (BT-7) has total length of 37 meters with 293 m2 of surface area. The image of BT – 1 were taken 3 times from 2018 to 2020. The result shows the reduction of the volumes 0.9 and 1.9 % each years. Thus the technique can recognize the erosion or damage of the treeen
dc.description.abstractโปรแกรมสร้างแบบจำลองสามมิติด้วยเทคนิครังวัดภาพถ่าย หรือ โฟโตแกรมเมตรี ถูกพัฒนาให้สามารถสร้างแบบจำลองสามมิติที่มีความละเอียดสูงได้ สวนทางกับต้นทุนที่ลดลงอย่างมาก ทำให้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายรวมถึงงานด้านบรรพชีวินวิทยา การศึกษานี้ได้ทำการสร้างแบบจำลองสามมิติของไม้กลายเป็นหินขนาดใหญ่จำนวน 3 ต้น ณ อุทยานแห่งชาติดอยสอยมาลัย (เตรียมการ) จังหวัดตาก โดยต้นที่ 1 ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่มีความยาวถึง 69 เมตร มีพื้นที่ผิว 732 ตารางเมตร ต้นที่ 6 ขนาด 34 เมตร มีพื้นที่ผิว 302 ตารางเมตร และต้นที่ 7 ขนาด 37 เมตร มีพื้นที่ผิว 293 ตารางเมตร จากการเก็บภาพ 3 ครั้ง ในช่วงระยะเวลา 2 ปี ช่วยให้สามารถตรวจสอบและเปรียบเทียบการเปลี่ยนของพื้นผิวไม้กลายเป็นหินที่เกิดความเสียหายในระยะเวลาที่ผ่านไป ผลการวิจัยพบว่าไม้กลายเป็นหินต้นที่ 1 มีปริมาตรลดลงร้อยละ 0.9 ถึง 1.9 ต่อปี. และภาพถ่ายแสดงให้เห็นร่องรอยการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น ชิ้นไม้ที่หายไป มูลนก คราบเชื้อราและตะไตร่น้ำ แบบจำลองสามมิติที่ขึ้นรูปจากการรังวัดภาพถ่ายมีความละเอียดสูงเพียงพอที่จะใช้เพื่อการอนุรักษ์และตรวจสอบสภาพซากดึกดำบรรพ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectไม้กลายเป็นหินth
dc.subjectการรังวัดภาพถ่ายth
dc.subjectแบบจำลองสามมิติth
dc.subjectจังหวัดตากth
dc.subjectซากดึหดำบรรพ์th
dc.subjectPetrified treeen
dc.subjectPhotogrammetryen
dc.subject3D modelen
dc.subjectTaken
dc.subjectfossilen
dc.subject.classificationEarth and Planetary Sciencesen
dc.subject.classificationEarth and Planetary Sciencesen
dc.titleUsing of Photogrammetry Technique for Reconstruction of the 3D Models of Petrified Trees in Tak Province, Thailanden
dc.titleการใช้เทคนิครังวัดด้วยภาพถ่ายสร้างแบบจำลองสามมิติของซากดึกดำบรรพ์ไม้กลายเป็นหิน ในจังหวัดตาก ประเทศไทย    th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010256007.pdf6.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.