Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1824
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNudjaree Sukontawareeen
dc.contributorนุจรีย์ สุคนธวารีย์th
dc.contributor.advisorApantee Poonputtaen
dc.contributor.advisorอพันตรี พูลพุทธาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2023-01-20T10:43:34Z-
dc.date.available2023-01-20T10:43:34Z-
dc.date.issued9/11/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1824-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of the current study was to develop and study Prathomsuksa 4 students’ problem-solving abilities in science  using integrated inquiry-based learning and cooperative learning in the topic of plants around. The study was designed in an action research approach using 2 continuous PAOR learning circles. The target group consisted of 7 Prathomsuksa 4 students in Nongpho Prachanukul school selected by a purposive sampling method. The instruments were 1) a learning management plan, 2) a problem-solving ability in science evaluation form, 3) a post-learning evaluation form, 4) a learning observation form, and 5) a satisfaction survey questionnaire. The statistics used in data analysis were mean score, standard deviation, and percentage. The results of the study were as follows. 1) In learning circle 1, the cooperative learning technique of STAD was used with inquiry-based learning while the technique of TGT was integrated with inquiry-based learning in learning circle 2. Five processes of (1) engagement, (2) exploration, (3) explanation, (4) elaboration, and (5) evaluation were employed. 2) The results of the learning management implementation indicate that 1 student (14.29%) passed the evaluation criteria of 80 in the learning circle 1 while 4 students (57.14%) passed the evaluation criteria in learning circle 2. Students’ satisfaction with the learning management plan was at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พืชรอบตัว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการตามวงจรปฏิบัติการ PAOR ต่อเนื่องกัน 2 วงจรปฏิบัติการ กลุ่มเป้าหมายการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนหนองโพธิ์ประชานุกูล จำนวน 7 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 3) แบบบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้ ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 เป็นการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD และวงจรปฏิบัติการที่ 2 เป็นการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT ซึ่งแต่ละวงจรปฏิบัติการมีกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ (1) ขั้นสร้างความสนใจ (2) ขั้นสำรวจและค้นหา (3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (4) ขั้นขยายความรู้ และ (5) ขั้นประเมินผล 2) ผลความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เมื่อสิ้นสุดทั้ง 2 วงจร พบว่า วงจรปฏิบัติการที่ 1 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 และวงจรปฏิบัติการที่ 2 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 นักเรียนมีความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับมาก th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th
dc.subjectการเรียนรู้แบบร่วมมือth
dc.subjectProblem - Solving Abilities in Scienceen
dc.subjectInquiry - Based Learningen
dc.subjectCooperative Learningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Problem - Solving Abilities in Science by Inquiry - Based Learning with Cooperative Learning for Prathomsuksa 4 Studentsen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010281003.pdf5.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.