Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJirawan Muanlaoen
dc.contributorจิรวรรณ เหมือนเหลาth
dc.contributor.advisorSongsak Phusee - ornen
dc.contributor.advisorทรงศักดิ์ ภูสีอ่อนth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-20T11:20:15Z-
dc.date.available2023-01-20T11:20:15Z-
dc.date.issued7/12/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1844-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of the research were 1) to compare mathematical problem solving abilities and academic achievement of Mathayomsuksa 5 students on the application of sequences and series after receiving learning management using Inquiry process with metacognitive process with 70% criteria and 2) to compare mathematical problem solving abilities and academic achievement of Mathayomsuksa 5 students on the application of sequences and series before and after learning using Inquiry process with metacognitive process. The sample group of this research are Mathayomsuksa 5/2 students in the Science and Mathematics study plan studying basic mathematics in the second semester of the 2021 academic year, 31 students. obtained by Cluster Random Sampling. The tools used in this research were : 1)  The learning management plan using Inquiry process with metacognitive process 2) Mathematical Problem Solving Ability Test and 3) learning achievement test basic Mathematics on Applications of Sequences and Series. The One Group Pretest-Posttest Design was used for the study. The stats used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test for one sample and t-test for dependent samples. The results were as follows: 1. The mathematical problem solving abilities and academic achievement of Mathayomsuksa 5 students on the application of sequences and series after receiving learning management using Inquiry process with metacognitive process higher than the 70 percent criterion at .05 level of significance. 2. The mathematical problem solving abilities and academic achievement of Mathayomsuksa 5 students after receiving learning management using Inquiry process with metacognitive process higher than before learning at .05 level of significance.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายดังนี้ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การประยุกต์ของลำดับและอนุกรม หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงเมตาคอกนิชัน กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การประยุกต์ของลำดับและอนุกรม ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงเมตาคอกนิชัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ที่กำลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 31 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงเมตาคอกนิชัน เรื่อง การประยุกต์ของลำดับและอนุกรม 2) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และ 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง การประยุกต์ของลำดับและอนุกรม แบบแผนการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบ One Group Pre-test Post-test Design สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้ One sample t-test และ Dependent samples t-test     ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การประยุกต์ของลำดับและอนุกรม หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงเมตาคอกนิชัน สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงเมตาคอกนิชัน เรื่อง การประยุกต์ของลำดับและอนุกรม สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงเมตาคอกนิชันth
dc.subjectกระบวนการคิดเชิงเมตาคอกนิชันth
dc.subjectMathematical Problem Solving Abilitiesen
dc.subjectAcademic Achievementen
dc.subjectInquiry Process with Metacognitive Processen
dc.subjectMetacognitive Processen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Effects of Organizing Mathematics Learning Activities by Using Inquiry Process with Metacognitive Process to Promote Mathematics Problem Solving Ability in Matthayomsuksa 5 Students en
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงเมตาคอกนิชัน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010558003.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.