Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1858
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPanuruj Bureenoken
dc.contributorภานุรุจ บุรีนอกth
dc.contributor.advisorWittaya Worapunen
dc.contributor.advisorวิทยา วรพันธุ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-20T11:20:18Z-
dc.date.available2023-01-20T11:20:18Z-
dc.date.issued11/11/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1858-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to develop problem-based learning management in economics of Mathayom Suksa 4 students with efficiency according to the 80/80 criteria 2) to study the index of effectiveness of learning management in economics by using a developed problem-base 3) to compare their ability to solve problems between pre-school and to after school of students who are managed to learn economics by using problem-based The sample group consisted of students in Mathayomsuksa 4/2 at Suksa Songkhro Thawatburi School. Thawat Buri District Roi Et Province, the first semester of the academic year 2022, consisted of 1 classroom, totaling 17 students, which were obtained by Cluster Random Sampling. Problem Solving Ability Test The statistics used to analyze the data were mean, standard deviation, and test the hypothesis with t-test statistics (Dependent Sample). The results showed that: 1. Problem-based economics learning management of Mathayom Suksa 4 students had an efficiency of 80.59/81.96 which was equal to the set criteria of 80/80.   2. The index of effectiveness of learning management in economics by using problem-based matters was 0.7585, indicating that students had increased knowledge by 0.7585 or equivalent to 75.85%. 3. The ability to solve problems during and after school of students who are managed to learn economics by using problem-based There is a higher progression after school than before. There was a statistically significant difference at the .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการจัดการเรียนรู้สาระเศรษฐศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้สาระเศรษฐศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่พัฒนาขึ้น 3) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สาระเศรษฐศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ธวัชบุรี อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จํานวน 1 ห้องเรียน รวม 17 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling)เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ t-test (Dependent Sample) ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการเรียนรู้สาระเศรษฐศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.59/81.96 ซึ่งเท่ากับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ 80/80 2. ดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้สาระเศรษฐศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีค่าเท่ากับ 0.7585 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น 0.7585 หรือคิดเป็นร้อยละ 75.85     3. ความสามารถในการแก้ปัญหาระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สาระเศรษฐศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีความก้าวหน้าหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectเศรษฐศาสตร์th
dc.subjectปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectLearning Managementen
dc.subjectEconomicsen
dc.subjectProblem-baseden
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Developing of Problem-based Learning in Economics of Students in Mathayomsuksa 4en
dc.titleการพัฒนาการจัดการเรียนรู้สาระเศรษฐศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010582023.pdf4.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.