Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1860
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAmornrut Temwongen
dc.contributorอมรรัตน์ เต็มวงษ์th
dc.contributor.advisorSaithip Suttiruksaen
dc.contributor.advisorสายทิพย์ สุทธิรักษาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Pharmacyen
dc.date.accessioned2023-01-20T11:28:13Z-
dc.date.available2023-01-20T11:28:13Z-
dc.date.issued14/6/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1860-
dc.descriptionMaster of Pharmacy (M.Pharm.)en
dc.descriptionเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.)th
dc.description.abstractObjective: To design and evaluate outcomes of electronic medication reconciliation (MR) development process between hospital and primary care unit. Methods: Data collection included Phase 1: Plan, Document analysis of current situation and problems of MR process, Phase 2: Development of MR process and Phase 3: Test, implementation and evaluate the outcome newly proposed MR process of the hospital admitted at the in-patient ward among patients and continued care in the primary care unit with diabetes mellitus, hypertension and other by using descriptive statistics. Results: The results showed MR process between hospital and primary care unit increase from 77.88 % to 100% (p<0.001). The duration of the follow-up medication history was reduced from 429.79 ± 868.50 minutes to 1.00 minute, and duration for receive medication decreased from 482.04 ± 913.64 minutes to 33.78 ± 93.08 minutes, (p<0.001). Reduced untreated indications 22.12% (p<0.001). All of medication error and harm decrease from 18.27% to 5.77% (p<0.001). Average staff satisfaction on system efficiency and benefits 4.06 ± 0.41 (Out of 5 Scores), design 3.90 ± 0.54, support for use 4.07 ± 0.71. Conclusion: The development of MR process with the electronic resulted in increased in-patient care coverage. Prevention and reduce the incidence of medication error and harm between hospital and primary care units.en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อสร้างและประเมินชุดคำสั่งอิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการประสานรายการยาสำหรับผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ  วิธีการศึกษา: ทำการศึกษาในโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง แบ่งเป็น 3 ระยะคือ 1) วางแผน วิเคราะห์สถานการณ์และปัญหาของกระบวนการประสานรายการยา 2) พัฒนาระบบและกระบวนการของการประสานรายการยาและทดสอบระบบ 3) นำระบบลงสู่การปฏิบัติ ประเมินผล และเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการประสานรายการยาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงหรือโรคร่วมอื่นๆ ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและเป็นผู้ป่วยที่รับการรักษาต่อเนื่องในหน่วยบริการปฐมภูมิ เปรียบเทียบข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษา: ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในก่อนและหลังการศึกษากลุ่มละ 104 ครั้ง พบว่าร้อยละของการประสานรายการยาเพิ่มขึ้น (77.88 และ 100 ; p<0.001) ระยะเวลาเฉลี่ยในการติดตามข้อมูลทางยาของผู้ป่วยลดลง (429.79 ± 868.50 และ 1.00 นาที; p<0.001) ระยะเวลาเฉลี่ยในได้รับยาเดิมของผู้ป่วยลดลง (482.04 ± 913.64 นาที เป็น 33.78 ± 93.08 นาที ; p<0.001) ลดปัญหาผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่ควรได้รับ ร้อยละ 22.12 (p<0.001) และคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นส่งผลให้เกิดความรุนแรงระดับ D (มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วย แต่ยังมีความจำเป็นต้องติดตามผู้ป่วยเพิ่มเติม) ลดลง (18.27 เป็นร้อยละ 5.77; p< 0.001) คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยของเจ้าหน้าที่ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ต่อด้านประสิทธิภาพและประโยชน์ของระบบ (4.06 ± 0.41) ด้านการออกแบบ (3.90 ± 0.54) ด้านการสนับสนุนการใช้งาน (4.07 ± 0.71) สรุป: ชุดคำสั่งอิเล็กทรอนิกส์สามารถลดระยะเวลาในการประสานรายการยา และช่วยป้องกันและลดความคลาดเคลื่อนทางยาที่อาจเกิดระหว่างรอยต่อการให้บริการระหว่างโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการประสานรายการยาth
dc.subjectหน่วยบริการปฐมภูมิth
dc.subjectความคลาดเคลื่อนทางยาth
dc.subjectระบบอิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectชุดคำสั่งอิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectโรงพยาบาลth
dc.subjectElectronic medication reconciliationen
dc.subjectPrimary care uniten
dc.subjectMedication reconciliationen
dc.subjectMedication erroren
dc.subjectHospitalen
dc.subject.classificationMedicineen
dc.titleOutcomes of electronic medication reconciliation development process between hospital and primary care uniten
dc.titleผลการพัฒนากระบวนการประสานรายการยาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Pharmacy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010781005.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.