Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1918
Title: Speech Act of Worship Thao Suranaree in Korat Songs
วัจนกรรมการบวงสรวงท้าวสุรนารีในบทเพลงโคราช
Authors: Surasr Kongkhunthod (Thammsaro)
ศุรสา เกงขุนทด (ธมมสาโร)
Rachan Nilawanapa
ราชันย์ นิลวรรณาภา
Mahasarakham University
Rachan Nilawanapa
ราชันย์ นิลวรรณาภา
nilawanapa@yahoo.com
nilawanapa@yahoo.com
Keywords: วัจกรรมกรรมการบวงสรวง
ท้าวสุรนารี
บทเพลงโคราช
Speech act of worship
Thao Suranaree
Korat Song
Issue Date:  23
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research aims to study Speech act  of worship Thao Suranaree in Korat Song. has two main aims : 1) to study the types of Speech act of worship Thao Suranaree in the Korat song and, 2) study the technique of using language in the Speech act  worship of Thao Suranaree in the Korat song. The lyrics of the composer of Korat songs are compiled with 51 songs.The research results on to study Speech act  of worship Thao Suranaree in Korat Song could be divided into 12 types of speech acts, 1) promise making, 2) namely affirmative, 3)request making, 4) warning, 5) advice giving 6 wishing 7) commanding and study the technique of using language. could be divided into 2 types of language tactics, 1. Lexical strategies, 1) address terms, 2) reference, 3) verb forms, and 2. the used of figurative language could be divided into 3 types, 1) Simile, 2) Metaphor,and 3) dialect. The Speech act of Worship of Thao Suranaree in Korat Song is a speech act used to communicate the speaker with the intention of making the listener recognize and understand. and the faith of Ya Mo The other one reflects the singing culture and the inheritance of the Korat song as a heritage and cultural wisdom of Thailand.
งานวิจัยนี้ได้ศึกษาวัจนกรรมการบวงสรวงท้าวสุรนารีในบทเพลงโคราช  มีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งประเภทวัจนกรรมการบวงสรวงท้าวสุรนารีในบทเพลงโคราช และเพื่อศึกษากลวิธีการใช้ภาษาในการแสดงวัจนกรรมการบวงสรวงท้าวสุรนารีในบทเพลงโคราช โดยใช้ตัวบทของหมอเพลงโคราช ซึ่งรวบรวมได้จำนวนทั้งสิ้น 51 เพลง  ผลการวิจัยพบว่าวัจนกรรมการบวงสรวงท้าวสุรนารีในบทเพลงโคราชพบ 7 ประเภท จากมากไปน้อย ได้แก่ คือ 1) วัจนกรรมสัญญา 2) วัจนกรรมการบอกเล่า 3) วัจนกรรมการขอร้อง 4) วัจนกรรมการเตือน 5) วัจนกรรมการแนะนำ 6) วัจนกรรมการอวยพร  7) วัจนกรรมการสั่ง และกลวิธีการใช้ภาษาในการแสดงวัจนกรรมการบวงสรวงท้าวสุรนารีในบทเพลงโคราช   ผลจากการศึกษาสามารถแบ่งประเภทของกลวิธีการใช้ภาษาได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. กลวิธีทางศัพท์ ได้แก่ 1) การเรียกขาน 2) การอ้างถึง 3) คำกริยา  และ 2. กลวิธีทางวาทศิลป์ ได้แก่ 1) การใช้อุปมา 2) การใช้อุปลักษณ์ 3) การใช้ภาษาถิ่น วัจนกรรมการบวงสรวงท้าวสุรนารีในบทเพลงโคราช เป็นวัจนกรรมที่ใช้สื่อสารผู้พูดมีเจตนาที่ทำให้ผู้ฟังรับรู้และเข้าใจ เกิดความศรัทธาของต่อย่าโม อีกทั้งยังสะท้อนวัฒนธรรมการขับร้อง การสืบทอดบทเพลงโคราชเป็นมรดกและภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมไทยต่อไป
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1918
Appears in Collections:The Faculty of Humanities and Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010180011.pdf3.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.