Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1920
Title: The Strategies for Using Language and Social Reflections in Youth Literature Genre Fiction of Chamaiporn Saengkrachang
กลวิธีการใช้ภาษาและภาพสะท้อนทางสังคมในวรรณกรรมเยาวชนประเภทบันเทิงคดีของชมัยภร แสงกระจ่าง
Authors: Fatimafaty Sou
Fatimafaty Sou
Nittaya Wannakit
นิตยา วรรณกิตร์
Mahasarakham University
Nittaya Wannakit
นิตยา วรรณกิตร์
nittaya.w@msu.ac.th
nittaya.w@msu.ac.th
Keywords: กลวิธีการใช้ภาษา
ภาพสะท้อนทางสังคม
วรรณกรรมเยาวชนบันเทิงคดี
The techniques of language usage
Social as reflected
youth literature in the genre of fiction
Issue Date:  28
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purpose of this research was to study language strategies and social reflections in youth literature by Chamaiporn Saengkrajang. The data used in this research is the youth literature in the genre of fiction by Chamaiporn Saengkrajang, there are 10 volumes in total. The researcher used data from the work of Chamaiporn Saengkrachang and presented the data using a descriptive analytical model. The results showed that Objective One, the strategies of Language usage in youth literature in the genre of fiction by Chamaiporn Saengkrajang, there are 8 types of word usage, i.e. reduplication word, double word, expressions emotion words, abbreviations word, compound word suffixes words relative words, and word in foreign languages. As for the use of sentences there were 4 types  Short sentences, long sentences, rhetorical question sentences and contradictory sentences. The use of language in idioms found the use of original Thai idioms The researcher has selected 7 idioms to study in this research. There were 6 types of figures of speech i.e. Simile, metaphor, metaphor, personification, symbol, hyperbole and paradox. The strategies of naming. The second purpose, the social reflection. Four types of social reflections were found, namely economic reflections, education reflection, moral and cultural reflections, and reflections on family.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการใช้ภาษาและภาพสะท้อนทางสังคมซึ่งศึกษาวิจัยวรรณกรรมเยาวชนประเภทบันเทิงคดีของชมัยภร แสงกระจ่าง จำนวน 10 เล่ม  และผู้วิจัยนำเสนอข้อมูลโดยพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า กลวิธีการใช้ภาษาในวรรณกรรมเยาวชนประเภทบันเทิงคดีของชมัยภร แสงกระจ่าง ได้พบการใช้คำ 8 ลักษณะ ได้แก่ การใช้คำซ้ำ การใช้คำซ้อน การใช้คำแสดงอารมณ์ การใช้คำย่อ การใช้คำประสม การใช้คำลงท้าย การใช้คำเรียกญติ และการใช้คำภาษาต่างประเทศ ส่วนการใช้ประโยคมี 4 ลักษณะ พบการใช้ประโยคสั้น การใช้ประโยคยาว ใช้ประโยคคำถามที่ไม่ต้องการคำตอบ และการใช้ประโยคขัดความ ด้านการใช้สำนวน พบการใช้สำนวนมีจำนวน 7 สำนวน พบการใช้ภาพพจน์มี 6 ลักษณะ ได้แก่ อุปมา อุปลักษณ์ บุคคลวัต สัญลักษณ์ อติพจน์ ปฏิทรรศน์ และพบกลวิธีการตั้งชื่อมี 2 ลักษณะ ได้แก่ การตั้งชื่อเรื่อง และการตั้งชื่อตัวละคร ส่วนภาพสะท้อนทางสังคม พบการใช้ภาพสะท้อน 4 ลักษณะ ได้แก่ ภาพสะท้อนด้านเศรษฐกิจ ภาพสะท้อนด้านการศึกษา ภาพสะท้อนด้านคุณธรรมและวัฒนธรรม และภาพสะท้อนด้านครอบครัว
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1920
Appears in Collections:The Faculty of Humanities and Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010180006.pdf4.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.