Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/193
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Saksit Sothonsak | en |
dc.contributor | ศักดิ์สิทธิ์ โสธรศักดิ์ | th |
dc.contributor.advisor | Nida Chaimoon | en |
dc.contributor.advisor | นิดา ชัยมูล | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Engineering | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T02:33:03Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T02:33:03Z | - |
dc.date.issued | 21/9/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/193 | - |
dc.description | Master of Engineering (M.Eng.) | en |
dc.description | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research studied grass jelly waste (GJ) processing to produce fuel briquette. GJ collected from Five Stars Grass Jelly Factory located in Khon Kean province was mixed with saw dust (SD) and tapioca flour (TF) at different 16 ratios and pressed to make blocks of fuel briquettes. The fuel briquettes were applied for quality analysis to find out the composition ratio which can satisfy fuel briquette’s standard criteria as well as maximized the GJ utilization. The result revealed that GJ : SD : TF ratio of 60 : 30 : 10 could maximize the GJ utilization. with these properties, i.e. heating value (3,558 kcal / kg), moisture content (1.62 %), ash content (12.42 %), compressive strength (0.011 N/cm3 ), density (0.26 g/cm3), fixed carbon (14.97 %), Volatile Matters (70.97 %), This meets the requirements announced in a handbook of the way and criterion of waste properties for transformation into fuel pellets and Interlocking brick by the industrial waste management bureau, department of industrial works. In terms of production cost, the fuel briquettes made from 60 percent GJ as described above costed 32 baht per kilogram. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาการแปรรูปขยะกากเฉาก๊วย (GJ) ให้กลายเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่ง โดยนำกากเฉาก๊วยจากโรงงานเฉาก๊วยห้าดาวจังหวัดขอนแก่นมาผสมกับขี้เลื่อย (SD) และแป้งมันสำปะหลัง (TF) ในอัตราส่วนต่างกัน 16 ค่า แล้วอัดแท่งเป็นขยะเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงอัดแท่งที่ผลิตได้ในแต่ละอัตราส่วนจะถูกนำมาศึกษาคุณสมบัติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาสัดส่วนของ GJ : SD : TF ที่สามารถแปรรูป GJ ได้มากที่สุดโดยไม่ทำให้เชื้อเพลิงอัดแท่งมีคุณสมบัติต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า อัตราส่วน GJ : SD : TF เท่ากับ 60 : 30 : 10 เป็นอัตราส่วนที่สามารถแปรรูปกากเฉาก๊วยเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่งได้มากที่สุด โดยเชื้อเพลิงที่ผลิตได้มีค่าความร้อนที่ 3,558 กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัม มีความชื้นร้อยละ 1.62 มีปริมาณเถ้าร้อยละ 12.42 รับกำลังแรงอัดได้ 0.011 นิวตันต่อตารางเซนติเมตร มีความหนาแน่น 0.26 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร มีคาร์บอนคงตัวร้อยละ 14.97 และมีสารระเหยร้อยละ 70.97 ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดในมาตรฐานคู่มือแนวทางและเกณฑ์คุณสมบัติของเสียเพื่อการแปรรูปเป็นแท่งเชื้อเพลิงและบล็อกประสานโดยสำนักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม ในส่วนของต้นทุนการผลิตพบว่าเชื้อเพลิงอัดแท่งที่ใช้กากเฉาก๊วย 60 เปอร์เซ็นต์ดังที่กล่าวมาข้างต้น มีต้นทุนการผลิตเท่ากับ 32 บาทต่อกิโลกรัม | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | เชื้อเพลิงอัดแท่ง | th |
dc.subject | วัสดุเหลือทิ้ง | th |
dc.subject | กากเฉาก๊วย | th |
dc.subject | ขี้เลื่อย | th |
dc.subject | แป้งมันสำปะหลัง | th |
dc.subject | Refuse Derived Fuel | en |
dc.subject | Grass jelly | en |
dc.subject | sawdust | en |
dc.subject | waste | en |
dc.subject | Tapioca | en |
dc.subject.classification | Environmental Science | en |
dc.title | Production of Refuse Derived Fuel made from Grass jelly processing Residue | en |
dc.title | การผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากวัสดุเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตเฉาก๊วย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Engineering |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58010351003.pdf | 3.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.