Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1952
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChutithon Charoenphioen
dc.contributorชุติธร เจริญผิวth
dc.contributor.advisorMaliwan Phattarachaleekulen
dc.contributor.advisorมะลิวัลย์ ภัทรชาลีกุลth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T09:37:52Z-
dc.date.available2023-09-07T09:37:52Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued1/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1952-
dc.description.abstractThe purposes of The Development Mathematics Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media to Promote Problem Solving Skill on Percentages and Ratios for Prathomsuksa 6 Students. research were (1) to develop plans for organization of mathematics Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media on Promote Problem Solving Skill on Percentages and Ratios of Prathomsuksa 6 a require efficiency of 70/70. (2) out the effectiveness index of plans for the organization of mathematics on Percentages and Ratios of Prathomsuksa 6 Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media on Promote Problem Solving Skill. (3) to compare the mathematical achievement of student and mathematical problem-solving ability who study Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media to Promote Problem Solving Skill on Percentages and Ratios of Prathomsuksa 6 Students with 70 percent criteria. The participants in this study were sixteen students who studied in grade 6 at Bankrajai School, Pa Tio District, Yasothon Province, Yasothon Primary Education Service Area Office 2, in the second semester of academic 2022. However, they were selected by using the cluster random sampling technique. The instruments are used in the study were (1) Mathematics learning activities Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media to Promote Problem Solving Skill on Percentages and Ratios for Prathomsuksa 6 Students plan for 18 plans each, totally 18 hours; (2) the learning achievement test on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 were 20 questions for multiple choices, item-objective congruence index (IOC) of test was 0.80-1.00, the difficult (p) of test was between 0.39-0.78, the discrimination (B) of test was between 0.28-0.80 and the reliability of all the item was 0.88; (3) the mathetical problem-solving ability test on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 were 4 questions for a subjective way of thinking, item-objective congruence index (IOC) of test was 0.80-1.00, the difficult (p) of test was between 0.61-0.66, the discrimination (B) of test was between 0.61 - 0.68 and the reliability of all the item was 0.76. The statistics are used for analyzing the data. It consists of percentage, mean, and standard deviation. Moreover, to examine the hypothesis by using a  Hotelling's T2 .           The results of the study were as follows:           1. The lesson plans for organization of mathematics learning activities of Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media to Promote Problem Solving Skill on Percentages and Ratios for Prathomsuksa 6 was 77.83/77.50, respectively.           2. The effectiveness index of plans for organization of mathematics learning of Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media to Promote Problem Solving Skill on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 was 0.6966, or 69.66 percent, respectively.           3. Mathematical achievement of students who studied Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media to Promote Problem Solving Skill on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 at over 70 percent criteria at .05 and mathematical problem-solving ability of students who studied using learning of Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media to Promote Problem Solving Skill in teaching mathematics on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 accounted not over 70 percent criteria at .05 level of significance.en
dc.description.abstractการวิจัย เรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจุดมุ่งหมายเพื่อ (1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 (2) เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา (3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านกระจาย อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2 จำนวน 1 ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียน 18 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 18 แผน แผนละ 1 คาบ คาบละ 1 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เป็นแบบทดสอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ โดยมีค่าความยาก (p) ตั้งแต่ 0.39 - 0.78 ค่าอำนาจจำแนก (B) ตั้งแต่ 0.28 - 0.80 และความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.88 และ  (3) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  เป็นแบบทดสอบอัตนัย จำนวน 3 ข้อ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.80-1.00 มีค่าความยาก (p) ตั้งแต่ 0.61 - 0.66 มีค่าอำนาจจำแนก (B) ตั้งแต่ 0.61 - 0.68 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.76 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ Hotelling's T2  ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้           1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ(E1/E2 ) ตามเกณฑ์ 77.83/77.50           2. ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 0.6966 แสดงว่า นักเรียนมีคะแนนเพิ่มขึ้นร้อยละ 69.66           3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่ระดับนัยสำคัญ .05 และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา ไม่สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่ระดับนัยสำคัญ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์th
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาth
dc.subjectสื่ออิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectLearning Activities Based on Constructivist Theoryen
dc.subjectProblem Solving Skillen
dc.subjectElectronic Mediaen
dc.subjectLearning Achievementen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe Development Mathematics Instruction Based on Constructivist Theory Cooperative with Electronic Media to Promote Problem Solving Skill on Percentages and Ratios for Prathomsuksa 6 Studentsen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorMaliwan Phattarachaleekulen
dc.contributor.coadvisorมะลิวัลย์ ภัทรชาลีกุลth
dc.contributor.emailadvisormaliwan.t@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisormaliwan.t@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Mathematicsen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาคณิตศาสตร์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010285001.pdf8.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.