Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuttiwan Katkamen
dc.contributorสุทธิวรร  เขตคามth
dc.contributor.advisorLadda Sanseehaen
dc.contributor.advisorลัดดา แสนสีหาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2019-10-02T02:34:21Z-
dc.date.available2019-10-02T02:34:21Z-
dc.date.issued28/5/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/196-
dc.descriptionMaster of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.abstractThis descriptive correlational research aimed to study the relationship between health belief and behavior of caregiver in fall prevention among older persons. The systematic random sampling technique was used to recruit 312 subjects in rural area who were major caregiver. The research instruments composed of health belief perception questionnaires with CVI content validity as .88 and behavior of caregiver in fall prevention among older persons with CVI content validity as .94. The Cronbach ’s alpha coefficient were .95 and .87 respectively. Descriptive analysis and Spearman rank correlation coefficient were used for data analysis. The results indicated that  perceived risk of fall, perceived benefits of fall prevention, perceived barriers of fall prevention, cues to action to fall were highly positive significantly related to behavior of caregiver in fall prevention among older persons (r = .79, .89, .86, .70 respectively and p < .05) and perceived severity of fall, perceived Self- efficacy in preventing fall were very highly positive significantly related to behavior of caregiver in fall prevention among older persons (r = .94, .90 respectively and p < .05). Based on the study findings, health care team should be set up program for developing caregiver behavior for fall prevention among older persons by highly concern with health belief perception.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์  มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพ และพฤติกรรมของผู้ดูแลในการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 312 คน  คือ ผู้ดูแลหลักของผู้สูงอายุ ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ  เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อด้านสุขภาพ ที่มีความตรงตามเนื้อหา .88 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค .95 และแบบสอบถามพฤติกรรมของผู้ดูแลในการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุที่มีความตรงตามเนื้อหา .94 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค .87  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า  การรับรู้ของผู้ดูแลถึงโอกาสเสี่ยงของการหกล้มในผู้สูงอายุ  การรับรู้ของผู้ดูแลถึงประโยชน์ของการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ  การรับรู้ของผู้ดูแลถึงอุปสรรคของการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ  สิ่งกระตุ้นให้กระทำของผู้ดูแลในการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมของผู้ดูแลในการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .79, .89, .86, .70, p < .05)  และ การรับรู้ของผู้ดูแลถึงความรุนแรงของการหกล้มในผู้สูงอายุ  การรับรู้ถึงความสามารถของตนเองของผู้ดูแลในการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงมากกับพฤติกรรมของผู้ดูแลในการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุ มีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .94, .90, p < .05).  จากผลการศึกษา  ทีมสุขภาพจึงควรจัดโปรแกรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ โดยคำนึงถึงการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพของผู้ดูแลเป็นสิ่งสำคัญth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectผู้ดูแล;ความเชื่อด้านสุขภาพ;การหกล้ม;การป้องกันการหกล้มth
dc.subjectCaregivers; Health beliefs; Falls; Fall preventionen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationNursingen
dc.titleRelationship between health belief and behavior of caregiver in fall prevention among older persons in the rural communityen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมของผู้ดูแลในการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชนชนบทth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Nursing

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56010450011.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.