Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1977
Title: The cost analysis of electricity generation from waste in educational institution : case study of Mahasarakham University
การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจากขยะในสถานศึกษา : กรณีศีกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Authors: Nukanda Thanyacharoen
ณุกานดา ธัญญเจริญ
Nattawoot Suwannata
ณัฐวุฒิ สุวรรณทา
Mahasarakham University
Nattawoot Suwannata
ณัฐวุฒิ สุวรรณทา
nattawoot.s@msu.ac.th
nattawoot.s@msu.ac.th
Keywords: โรงไฟฟ้าจากขยะ
เทคโนโลยีกำจัดขยะ
การผลิตพลังงานจากขยะ
ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจากขยะในสถานศึกษา
Power Plant from waste
waste to energy
Waste management technology
The cost of electricity generation from waste in education
Issue Date:  26
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research involves studying and analyzing the cost-effectiveness of using waste from educational institutions as a source of fuel for power plants. Mahasarakham University was chosen as a case study, with a 1.5 MW power plant, a project lifespan of 20 years, and an interest rate of 10%. The waste collected from three areas of Mahasarakham University, including the urban areas, Khamriang area, and the Demonstration School, amounts to an average of 5 tons per day. The study found that using fuel from waste within Mahasarakham University alone, as well as using fuel from internal waste and municipal waste to generate electricity for internal use, both cases have payback periods longer than the project lifespan. In the case of investing in a power plant to sell electricity to the Provincial Electricity Authority using fuel from internal waste alone, the payback period is also longer than the project lifespan. However, investing in a power plant fueled by internal waste and municipal waste to sell electricity to the Provincial Electricity Authority has a net present value (NPV) of 66,070,249.78 baht, an internal rate of return (IRR) of 13%, and a payback period of 11 years. In summary, investing in a power plant to generate and sell electricity to the Provincial Electricity Authority using both internal and external waste fuels would be worthwhile and attractive, given the government's policy support for producing electricity from waste.
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนสร้างโรงผลิตไฟฟ้าจากพลังงานขยะในสถานศึกษาเป็นแหล่งเชื้อเพลิง โดยใช้มหาวิทยาลัยมหาสารคามเป็นกรณีศึกษา ภายใต้เงื่อนไขโรงผลิตมีขนาด 1.5 MW อายุโครงการ 20 ปี และอัตราดอกเบี้ย 10 % ซึ่งใช้ขยะมูลฝอยของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 3 พื้นที่ ประกอบด้วย เขตพื้นที่ในเมือง เขตพื้นที่ขามเรียง และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีปริมาณขยะโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 5 ตันต่อวัน การศึกษาครั้งนี้ใช้ขยะป้อนโรงไฟฟ้าอัตรา 1 ตันต่อชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่า  การใช้เชื้อเพลิงจากขยะภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามเพียงอย่างเดียวและการใช้เชื้อเพลิงจากขยะภายในร่วมกับขยะชุมชนเพื่อเพื่อผลิตไฟฟ้าใช้เพียงอย่างเดียวมีระยะคืนทุนมากกว่าอายุของโครงการ ส่วนการลงทุนโรงผลิตไฟฟ้าด้วยขยะภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามเพียงอย่างเดียวผลิตไฟฟ้าเพื่อขายให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีระยะคืนทุนมากกว่าอายุของโครงการเช่นกัน ในขณะที่การลงทุนโรงผลิตไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงจากขยะภายในร่วมกับขยะชุมชนมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) เท่ากับ 66,070,249.78 บาท มีอัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) 13% มีระยะเวลาคืนทุน 11 ปี โดยสรุปแล้วการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าขายให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคด้วยเชื้อเพลิงจากขยะภายในและภายนอกจะเกิดความคุ้มค่าและน่าลงทุนมากกว่า เนื่องจากได้รับการการสนับสนุนเชิงนโยบายจากรัฐบาลในการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1977
Appears in Collections:The Faculty of Engineering

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010383501.pdf3.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.