Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1980
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Borramart Wisungre | en |
dc.contributor | บรมัตถ์ วิสุงเร | th |
dc.contributor.advisor | Darunee Rujkorakarn | en |
dc.contributor.advisor | ดรุณี รุจกรกานต์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-07T10:21:50Z | - |
dc.date.available | 2023-09-07T10:21:50Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 5/2/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1980 | - |
dc.description.abstract | Schizophrenia is the most common psychiatric disorder with 20 million people afflicted with this lifelong disease. Current treatment focuses on reintegrating patients into their community and with families. However, patients often have trouble adapting to living in the community. As a result, their symptoms relapse and require extended treatment to restore mental health. It is desirable to identify factors that might help patients with schizophrenia recover and remain in the community. This research was based on the conceptual framework by Rujkorakarn et al (2018). The objective was to predict factors associated with patients who adapt and recover effectively, such as age, duration of illness, daily routine practice, social support, drug side effects, self-management, hope, and recovery. The study used a descriptive and correlational design. Data were collected from 221 patients with schizophrenia who received outpatient services in hospitals under the Department of Mental Health in northeast Thailand from May 1 to July 31, 2022. Data were analyzed using Pearson's correlation and stepwise multiple regression. The results showed that the factors associated with recovery were social support (r = .501, p < .05), medication adherence (r = .264, p < .01), symptom management (r = .421, p < .05), and hope (r = .534, p < .05). In the regression model, three variables predicted recovery (R2 = .417): social support (R2 change = .285), hope (R2 change = .092), and symptom management (R2 change = .04). Treatment of patients with schizophrenia should concentrate on instilling hope, finding ways to provide social support, and managing symptoms. Focusing on these three factors will assist patients with schizophrenia in their long-term recovery and in remaining in the community with their families. | en |
dc.description.abstract | โรคจิตเภท (Schizophrenia) โรคทางจิตเวชที่พบได้มากที่สุดและจะมีอาการเรื้อรังตลอดชีวิต การรักษาในปัจจุบันเน้นให้ผู้ป่วยจิตเภทกลับสู่ครอบครัวและสังคม อย่างไรก็ตามพบว่าผู้ป่วยไม่สามารถปรับตัวให้อยู่ในชุมชนได้ ต้องกลับเข้ารับการรักษาซ้ำ ซึ่งมีผลต่อการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ การค้นหาปัจจัยที่ช่วยให้ผู้ป่วยจิตเภทฟื้นคืนสู่สุขภาวะ และอยู่ในชุมชนได้ยาวนานเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็น โดยการวิจัยครั้งนี้ใช้กรอบแนวคิดที่ได้จากการศึกษาวิจัยของ ดรุณี รุจกรกานต์ และคณะ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัย ได้แก่ อายุ ระยะเวลาการเจ็บป่วยด้วยโรคจิตเภท การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การได้รับการสนับสนุนทางสังคม การจัดการผลข้างเคียงของยา การจัดการตนเอง และความหวัง กับการฟื้นคืนสู่สุขภาวะในผู้ป่วยจิตเภทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ป่วยจิตเภทที่มารับบริการแบบผู้ป่วยนอก ในโรงพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 31 กรกฎาคม 2565 มีจำนวนกลุ่มตัวอย่าง 221 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ Pearson's correlation analysis และ Stepwise multiple regression ผลการวิจัยพบ ศึกษาพบว่า ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม (r = .501, p <.05) พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์ (r = .264, p < .01) การจัดการอาการ (r = .421, p < .05) และการมีความหวัง (r = .534, p < .05) และเมื่อนำตัวแปรเข้าสมการวิเคราะห์ด้วยวิธี Stepwise พบว่ามี 3 ตัวแปร ที่สามารถร่วมกันทำนายการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ ได้ร้อยละ 41.7 (R2 = .417) ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม (R2 change = .285) การมีความหวัง (R2 change = .092) และการจัดการอาการ (R2 change = .04) ผลการวิจัยพบ ปัจจัยร่วมทำนายการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ ได้แก่ การมีความหวัง การสนับสนุนทางสังคม และการจัดการอาการ นำผลการวิจัยครั้งนี้ไปใช้ในการส่งเสริมผู้ป่วยจิตเภทสามารถอยู่ในชุมชนได้ยาวนาน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | โรคจิตเภท | th |
dc.subject | การฟื้นคืนสู่สุขภาวะ | th |
dc.subject | การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน | th |
dc.subject | การได้รับการสนับสนุนทางสังคม | th |
dc.subject | การจัดการผลข้างเคียงของยา | th |
dc.subject | การจัดการตนเอง | th |
dc.subject | การมีความหวัง | th |
dc.subject | Schizophrenia | en |
dc.subject | Recovery | en |
dc.subject | ADL | en |
dc.subject | Social Support | en |
dc.subject | Controlling Medication Side effects | en |
dc.subject | Self-regulation | en |
dc.subject | Hope | en |
dc.subject.classification | Nursing | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | Factors predicting personal recovery of people with schizophrenia | en |
dc.title | ปัจจัยทำนายการฟื้นคืนสู่สุขภาวะในผู้ป่วยจิตเภท | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Darunee Rujkorakarn | en |
dc.contributor.coadvisor | ดรุณี รุจกรกานต์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | drdarunee@gmail.com | |
dc.contributor.emailcoadvisor | drdarunee@gmail.com | |
dc.description.degreename | Master of Nursing Science (M.N.S.) | en |
dc.description.degreename | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | วิชาการพยาบาลชุมชนและสุขภาพจิต | en |
dc.description.degreediscipline | วิชาการพยาบาลชุมชนและสุขภาพจิต | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Nursing |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62010480002.pdf | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.