Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1986
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSaksit Romthaisongen
dc.contributorศักดิ์สิทธิ์ รอมไธสงth
dc.contributor.advisorNarisa Wongpanaraken
dc.contributor.advisorนริสา วงศ์พนารักษ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T10:21:51Z-
dc.date.available2023-09-07T10:21:51Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued11/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1986-
dc.description.abstractThis research aimed to study the relationships between personal factors, depression, and adaptation in outpatients with depression. The participants consisted of 138 randomly sampled outpatients with major depressive disorder at Nakhon Ratchasima Rajanagarindra. The research instruments included a demographic data questionnaire, the patient health questionnaire (PHQ-9), and the adaptation questionnaire. Cronbach alpha coefficients to assess the reliability of the patient health questionnaire (PHQ-9) and the adaptation questionnaire were 0.83 and 0.84 respectively. Data were analyzed using frequencies, percentages, means, standard deviations, Chi-square, and Pearson’s correlation coefficients. The finding revealed that the participants had mean scores of depressions at a mild level (x̄ =2.31, SD=.58) and adaptation at a moderate level (x̄ =2.31, SD=.58). Depression was negatively and significantly related to adaptation (r = -.607, p < .01) and was negatively and significantly related to physiological mode, self-concept mode, role function mode, and interdependence mode (r = -.638, r = -.666, r = -.549, r = -.636, p < .01, respectively). The results clearly showed the relationships between depression and the four modes of adaptation. The results provide important information that psychiatric and mental health nurses to operate appropriate nursing practices and activities in order to promote better adaptation in outpatients with depression.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลภาวะซึมเศร้ากับการปรับตัวของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยทำงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยทำงานที่มารับบริการในคลินิกโรคซึมเศร้าแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มจำนวน 138 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบสอบถามการปรับตัว ตรวจสอบความเที่ยงของแบบประเมินภาวะซึมเศร้าและแบบสอบถามการปรับตัว ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค ได้เท่ากับ 0.83 และ 0.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแคว์ และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะซึมเศร้าอยู่ในระดับน้อยมาก   (x̄  =6.99, SD=.56) การปรับตัวอยู่ในระดับปานกลาง (x̄  =2.31, SD=.58) ภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์ทางลบในระดับสูงกับการปรับตัวของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=-.607, p<.01) และมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับสูงกับการปรับตัวด้านร่างกาย ด้านอัตมโนทัศน์ ด้านบทบาทหน้าที่ และด้านการพึ่งพาระหว่างกัน (r=-.638, r=-.666, r=-.549, r=-.636, p<.01) ตามลำดับ ผลการศึกษานี้ แสดงให้เห็นชัดว่าภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์กับการปรับตัว ทั้งด้านร่างกาย ด้านอัตมโนทัศน์ ด้านบทบาทหน้าที่ และด้านการพึ่งพาระหว่างกัน ผลการศึกษาครั้งนี้ เป็นข้อมูลสำคัญสำหรับพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตได้นำไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลและหากิจกรรมเพื่อส่งเสริมการปรับตัวที่ดีในผู้ป่วยซึมเศร้าวัยทำงานth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectภาวะซึมเศร้า, การปรับตัว, ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยทำงานth
dc.subjectDepression; Adaptation; Employees with Major Depressive Disorderen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleThe Relationships Between Personal Factors, Depression, and Adaptation Among Employees with Major Depressive Disorderen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะซึมเศร้ากับการปรับตัวของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยทำงานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNarisa Wongpanaraken
dc.contributor.coadvisorนริสา วงศ์พนารักษ์th
dc.contributor.emailadvisornarisa.w@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisornarisa.w@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.description.degreenameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineวิชาการพยาบาลชุมชนและสุขภาพจิตen
dc.description.degreedisciplineวิชาการพยาบาลชุมชนและสุขภาพจิตth
Appears in Collections:The Faculty of Nursing

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010420008.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.