Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1989
Title: | Symptom Experiences, Symptom Management and Outcomes of Management among End-Stage Renal Disease Patients with Palliative Care ประสบการณ์อาการ กลวิธีการจัดการอาการ และผลของการจัดการอาการในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่เลือกการดูแลแบบประคับประคอง |
Authors: | Piyaphon Phonpanom ปิยพร พรพนม Supatra Buatee สุพัตรา บัวที Mahasarakham University Supatra Buatee สุพัตรา บัวที supatra.b@msu.ac.th supatra.b@msu.ac.th |
Keywords: | ประสบการณ์อาการ การจัดการอาการ ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้าย การดูแลแบบประคับประคอง symptom experience symptom management end-stage chronic kidney disease palliative care |
Issue Date: | 24 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This study is a descriptive study aimed to explore experiences, symptoms, management methods (Dodd et al, 2001) a sample of 89 patients with end-stage chronic kidney disease who chose palliative care who were admitted at Kamalasai Hospital in Kalasin Province collect data between December 2022 to February 2023, used a symptom experience questionnaire, symptom management strategies and outcomes of symptom management of patients with chronic kidney disease.
The Five commons symptoms that interfere with daily life are 1) fatigue, 2) insomnia, 3) poor mobility, 4) pain/numbness, 5) shortness breath, and how to manage the symptoms that the sample uses frequently divided into 2 groups: behavior adjustment and cognitive therapy.
The research results show received the participant revied of unpleasant symptoms. it also guideline to information to develop individual patient strategies by planned care of end-stage renal disease and develop of symptoms management. การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสบการณ์อาการ วิธีการจัดการ กลวิธีการจัดการกับอาการ และผลของกลวิธีจัดการอาการ ตามกรอบแนวคิดของดอดด์และคณะ (2001) กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่เลือกการดูแลแบบประคับประคอง ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 89 ราย ตั้งแต่เดือน ธันวาคม 2565 - กุมภาพันธ์ 2566 ใช้แบบสอบถามประสบการณ์อาการ กลวิธีการจัดการอาการและผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังรัยะสุดท้าย ที่เลือกการดูแลแบบประคับประคอง ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมาใหม่ ผ่านการทดสอบความเที่ยงที่ 0.91 ผลการวิจัย ประสบการณ์อาการการเกิดอาการของกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยอาการ 5 อันดับแรก คือ 1) เหนื่อยล้า 2) เคลื่อนไหวลำบาก 3) นอนไม่หลับ 4) ปวด/มึนชา และ 5) หายใจลำบาก และวิธีการจัดการอาการที่กลุ่มตัวอย่างใช้บ่อยแบ่งเป็นกลุ่ม 2 กลุ่ม คือ การปรับพฤติกรรม และการใช้ความบำบัด ผลของการจัดการอาการเหล่านี้มีภาวะอาการที่ทุเลาลง ผลการศึกษา สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการเข้าใจและประเมินอาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ใช้เเป็นแนวทางการจัดการเพื่อวางแผนส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้ป่วยกลุ่มนี้ต่อไป |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1989 |
Appears in Collections: | The Faculty of Nursing |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010485009.pdf | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.