Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1995
Title: | The Development of a Flexible Learning Models to Promote Life and Career Skills for Students of Rajamangala University Of Technology Isan การพัฒนาโมเดลการเรียนรู้แบบยืดหยุ่นที่ส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพ สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน |
Authors: | Atipat Ritthiron อธิปัตย์ ฤทธิรณ Pachoen Kidrakarn เผชิญ กิจระการ Mahasarakham University Pachoen Kidrakarn เผชิญ กิจระการ pachoen54@gmail.com pachoen54@gmail.com |
Keywords: | การพัฒนาโมเดลการเรียนรู้แบบยืดหยุ่น ทักษะชีวิตและอาชีพ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน Development of a Flexible Learning Models Promote Life and Career Skills Students of Rajamangala University of Technology Isan |
Issue Date: | 20 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The objectives of this research were :1) to study the conditions problems and need of present learning management 2) to create and develop the flexible learning model to promote life and career skills for students of Rajamangala University of Technology Isan 3) to try out and evaluate the model. The sample was 35 undergraduate students who enrolled in the Innovation and Technology for learning Management course of Rajamangala University of Technology Isan. The simple random sampling was applied to select the samples. The instruments of the research were 1) The present conditions of learning questionnaire 2) The flexible learning model to promote life and career skills for students of Rajamangala University of Technology Isan and its handbook 3) The learning achievement test 4) A life and career skills test 5) The student’s satisfaction test 6) Opinion survey questionnaire. The data were analyzed by using the basic statistics: percentage, mean, standard deviation, and t-test. Needs assessment in live and career skills for students was calculated by the priority need index (PNImodified) method.
The research found that:
1. The present learning conditions and problems: instructors had a time management problem since there were too many extracurricular activities for students, resulting in their schedules overlap; the teaching-learning equipment and media deficiency; as well as instructors, there was a moderately flexible learning arrangement; the students had lack background knowledge to fully comprehend the present lessons and life and career skills in Initiative and Self-Direction had the lowest average scores.
2. Flexible learning model to promote life and career skills for students of Rajamangala University of Technology Isan consisted of (1) Principles (2) Objectives (3) Process (4) Conditions (5) Methodology of application of the model. The model comprised 3 components: (1) Time (2) Content (3) Learning-teaching and resource management. Herein, Process means activity step including (1) First step (2) Pre-learning step (3) Learning in class step (4) Post-learning step. We found that students were influenced by the model in 3 aspects: knowledge, life and career skills and learning satisfaction of learning.
3. The results of the model trial showed that (1) the flexible learning model to promote life and career skills for students of Rajamangala University of Technology Isan was very high-quality (x̅ = 4.43) (2) Students have significantly more post-study knowledge than before at .001 (3) The result also showed that students have increased their life and career skills in all areas and (4) The students are very satisfied with model-based learning. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหาและความต้องการ การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน 2) สร้างและพัฒนาโมเดล 3) ประเมินและทดลองใช้โมเดล กลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้โมเดลเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา 20-401-001-204 นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ จำนวน 35 คน ด้วยการสุ่มแบบอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แบบสอบถามสภาพการจัดการเรียนรู้ปัจจุบัน 2) โมเดลและคู่มือการใช้โมเดล 3) แบบทดสอบความรู้ 4) แบบวัดทักษะชีวิตและทักษะอาชีพของนักศึกษา 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษา และ 6) แบบประเมินรับรองคุณภาพโมเดลและคู่มือการใช้โมเดล และสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนในปัจจุบัน ได้แก่ ผู้สอนมีปัญหาด้านเวลา ด้านสถานที่หรือห้องเรียน และด้านอุปกรณ์ สื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ รวมถึงผู้สอนมีการจัดการเรียนรู้ที่มีความยืดหยุ่นอยู่ในระดับปานกลาง ผู้เรียนมีปัญหาด้านความรู้ และทักษะชีวิตและอาชีพด้านความเป็นผู้มีความคิดริเริ่มและเป็นผู้นำ มีคะแนนเฉลี่ยต่ำที่สุด 2. โมเดลการจัดการเรียนรู้แบบยืดหยุ่น ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวน 4) เงื่อนไข และ 5) แนวทางในการใช้โมเดล โดยโมเดลมีองค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ ปัจจัยนำเข้า คือ มิติยืดหยุ่น 3 มิติ ได้แก่ 1) เวลา 2) เนื้อหา และ 3) การจัดการเรียนการสอนและการจัดทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ กระบวนการ คือ ขั้นตอนกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ 1) ขั้นแรก 2) ขั้นก่อนเรียนรู้ 3) ขั้นเรียนรู้ในชั้นเรียน และ 4) ขั้นเรียนรู้หลังเรียน ส่วนผลลัพธ์ คือ ผลที่เกิดกับผู้เรียน ได้แก่ 1) ความรู้ 2) ทักษะชีวิตและอาชีพ และ 3) ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนรู้ตามโมเดล และผลการรับรองโมเดล 3. ผลการทดลองใช้โมเดล พบว่า 1) โมเดลการจัดการเรียนรู้แบบยืดหยุ่นมีคุณภาพมาก (x̅ = 4.43) 2) นักศึกษามีความรู้หลังเรียนมากกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .001 3) นักศึกษามีทักษะชีวิตและอาชีพเพิ่มขึ้นทุกด้าน และ 4) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ตามโมเดลอยู่ในระดับมาก |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1995 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59010561006.pdf | 11.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.