Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2009
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Gunniga Phansri | en |
dc.contributor | กรรณิกา พันธ์ศรี | th |
dc.contributor.advisor | Rungson Chomeya | en |
dc.contributor.advisor | รังสรรค์ โฉมยา | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-07T10:29:03Z | - |
dc.date.available | 2023-09-07T10:29:03Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 3/7/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2009 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was 1) to study factor analysis of academic emotion. 2) to study and development of academic emotion based on the control - value theory for undergraduate Students. 3) to study to results of academic emotion based on the control - value theory for undergraduate Students. The sample this research divided into two phase 1) the first phase includes 5 target group and consisted of 1,270 students selected by multistage random sampling. the second phase include 30 students was selected by cluster random sampling. The research instruments including: 1) The academic emotion, the item-total reliability coefficient of was 0.83 2) Study and development of academic emotion based on the control - value theory for undergraduate Students. And 3) 3) Questionnaire for evaluate the training program. Statistics employed for analyses of the data included Mean, Standard deviation, Exploratory factor analysis, Confirmatory factor analysis, One-way repeated measure MANOVA. The results of the research were as follows: 1) The confirmatory factor analysis of the Entrepreneurship consisted four factors according to priority of factor loading as following: Positive Activating emotion, Positive Deactivating emotion, Negative Activating emotion, and Negative Deactivating emotion. The consistent test of the model found that the construct validity of scale and the model fitted well and the empirical data. (X^2= 153, df = 203, p = 0.00, RMSEA= 0.62, GFI=0.92, AGFI=0.90, CFI=0.97 RMSEA=0.25, SRMR=0.06) 2) study and development of academic emotion based on the control - value theory for undergraduate Students of the entrepreneurship was in “The high” 3) The sample who participated in the academic emotion had a statistically significant difference at the .05 level between the post-test and pre-test scores of social and emotional learning. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของอารมณ์ทางวิชาการ (Academic emotion) สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี 2) เพื่อสร้างรูปแบบโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างอารมณ์ทางวิชาการ (Academic emotion) ตามแนวคิดทฤษฎีการควบคุม – การเห็นคุณค่า (The control-value theory) สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี 3) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างอารมณ์ทางวิชาการ (Academic emotion) ตามแนวคิดทฤษฎีการควบคุม – การเห็นคุณค่า (The control-value theory) สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี การศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 5 คน และนิสิตนักศึกษา จำนวน 1,270 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ระยะที่ 2 จำนวน 30 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดอารมณ์ทางวิชาการ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.83 2) โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างอารมณ์ทางวิชาการ ตามแนวคิดทฤษฎีการควบคุม – การเห็นคุณค่า สำหรับนิสิตระดับปริญญาตร และ 3) แบบสอบถามเพื่อประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมการฝึกอบรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ทางวิชาการ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ อารมณ์เชิงบวกที่เป็นตัวกระตุ้น อารมณ์เชิงบวกที่เป็นตัวยับยั้ง อารมณ์เชิงลบที่เป็นตัวกระตุ้น และอารมณ์เชิงลบที่เป็นตัวยับยั้ง โดยโมเดลโครงสร้างองค์ประกอบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X^2= 153, df = 203, p = 0.00, RMSEA= 0.62, GFI=0.92, AGFI=0.90, CFI=0.97 RMSEA=0.25, SRMR=0.06) 2) โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างอารมณ์ทางวิชาการ ตามแนวคิดทฤษฎีการควบคุม – การเห็นคุณค่า สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3) กลุ่มตัวอย่าง อารมณ์ทางวิชาการ หลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | อารมณ์ทางวิชาการ | th |
dc.subject | องค์ประกอบอารมณ์ทางวิชาการ | th |
dc.subject | โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างอารมณ์ทางวิชาการ | th |
dc.subject | ทฤษฎีการควบคุม-การเห็นคุณค่า | th |
dc.subject | Academic emotion | en |
dc.subject | Elements of academic emotions | en |
dc.subject | Study and development of academic emotion | en |
dc.subject | The control – value theory | en |
dc.subject.classification | Psychology | en |
dc.subject.classification | Psychology | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | The Study and Development of Academic Emotion Based on The Control - Value Theory for Undergraduate Student | en |
dc.title | การศึกษาและพัฒนาอารมณ์ทางวิชาการตามแนวคิดทฤษฎีการควบคุม-การคุณค่า ของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Rungson Chomeya | en |
dc.contributor.coadvisor | รังสรรค์ โฉมยา | th |
dc.contributor.emailadvisor | rungson.c@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | rungson.c@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Psychology and Counseling | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60010567005.pdf | 8.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.