Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2032
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNuengruethai Haopramongen
dc.contributorหนึ่งฤทัย เฮ้าประมงค์th
dc.contributor.advisorKanyarat Cojornen
dc.contributor.advisorกัญญารัตน์ โคจรth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T10:45:35Z-
dc.date.available2023-09-07T10:45:35Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued19/6/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2032-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop learning activities based on problem-based learning with social media with a required efficiency of 70/70, 2) to compare the scientific reason ability of Mathayomsuksa 6 students with the criteria of 70 percent, 3) to compare learning achievement of Mathayomsuksa 6 students with the criteria of 75 percent. The sample used in this study was 32 students of Mathayomsuksa 6 in the 1st semester of 2022 academic year at Kosumwittayasan School. The research instruments included 1) 9 lesson plans of Acid-Base, 2) the scientific reasoning ability test 3) the achievement test. Statistics values used in this study consist of means, percentage, standard deviation and one sample t-test. The results were as follows: 1. The learning activities based on problem-based learning with social media had an effective (E1/E2) of 73.26/71.31 2. The scientific reason ability of students who learn with problem- based learning with social media was 27.03 which higher than 70 percent of criterion with a statistically significant of .05 level. 3. The learning achievement of Students who learn with problem- based learning with social media was 15.47 which higher than 75 percent of criterion with a statistically significant of .05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียน เรื่อง กรด-เบส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ กับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กรด-เบส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์กับเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโกสุมวิทยาสรรค์ จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง กรด-เบส จำนวน 9 แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง กรด-เบส 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ t-test (One sample t-test) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 73.26/71.31 2. นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ มีความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ เฉลี่ย 27.03 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉลี่ย 15.47 คะแนน ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์th
dc.subjectการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีth
dc.subjectProblem-base leaningen
dc.subjectSocial mediaen
dc.subjectScientific reason abilityen
dc.subjectLearning Achievement in chemistryen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe Development Leaning Activity based on Problem-based Learning with Social Media for Promoting the Mathayomsuksa 6 Students Scientific Reason Ability on the Topic of Acid-Baseen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งเสริมความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง กรด-เบส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKanyarat Cojornen
dc.contributor.coadvisorกัญญารัตน์ โคจรth
dc.contributor.emailadvisorkanyarat.c@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorkanyarat.c@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010556031.pdf3.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.