Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2046
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPornsuda Luangsuken
dc.contributorพรสุดา เหลืองสุขth
dc.contributor.advisorLakkhana Sariwaten
dc.contributor.advisorลักขณา สริวัฒน์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T11:13:11Z-
dc.date.available2023-09-07T11:13:11Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued1/6/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2046-
dc.description.abstractThe present study aimed 1) to investigate the currents situations, desirable situations and needs, 2) to design and evaluate the guidelines of students care system by using Deming cycle for Suksasongkroh schools in the northeast under special Education bureau. The study divided into 2 phases. Phase 1 was the study related to currents situations, desirable situations and needs of students care system, the sample was 40 consisted of schools’ vice directors, head of students care system department and teachers who responsible for students’ dormitory. The instrument used was 5 rating scales of questionnaire with 63 items, the statistics used were percentage, mean, standard deviation and priority needs index. Phase 2 was the design and evaluation guidelines of students care system, the informants were 4 teachers in schools where there was the best practicing of students care system and 5 experts who evaluated the guidelines of students care system. The instruments used were interview form, guidelines evaluation form. The statistics used were mean and standard deviation. The results of the study revealed that; 1) the currents situations of students care system for Suksasongkroh schools in the northeast under special Education bureau was rated in more level, the desirable situations rated in the most level, and priority need was knowing each of students, screening students and encouraging students respectively. 2) the results of design and evaluation of students care system guidelines using Deming cycle for Suksasongkroh schools in the northeast under special Education bureau comprised of 5 aspects and 54 guidelines, 1) knowing each of students consisted of 12 guidelines, 2) screening students included 10 guidelines, 3) encouraging students comprised of 11 guidelines, 4) protecting and coping with the problems consisted of 10 guidelines and 5) referring students included 11 guidelines. The results of guidelines evaluation related to the possibility and feasibility rated the most level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็น และออกแบบและประเมินแนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้วงจรคุณภาพเดมมิ่ง สำหรับโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ การวิจัยดำเนินการเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้างานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและหัวหน้าครูประจำหอนอนชายและหญิง จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 63 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 ออกแบบและประเมินแนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจากสถานศึกษาที่มีผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) จำนวน 4 คน และผู้ทรงคุณวุฒิประเมินแนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินแนวทาง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้วงจรคุณภาพเดมมิ่ง สำหรับโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ในสภาพปัจจุบันอยู่ในระดับมาก ส่วนสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด และลำดับความต้องการจำเป็นเรียงลำดับจากดัชนีความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล รองลงมา คือ ด้านการคัดกรองนักเรียน และด้านการส่งเสริมนักเรียน 2) ผลการออกแบบและประเมินแนวทางการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้วงจรคุณภาพเดมมิ่ง สำหรับโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ตามกระบวนการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประกอบด้วย 5 ด้าน ทั้งหมด 54 แนวทาง (1) ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล มี 12 แนวทาง (2) ด้านการคัดกรองนักเรียน มี 10 แนวทาง (3) ด้านการส่งเสริมนักเรียน มี 11 แนวทาง (4) ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา มี 10 แนวทาง (5) ด้านการส่งต่อนักเรียน มี 11 แนวทาง ได้รับการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้จากผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาแนวทางth
dc.subjectระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนth
dc.subjectวงจรคุณภาพเดมมิ่งth
dc.subjectโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์th
dc.subjectThe Guidelines Developmenten
dc.subjectStudents Care Systemen
dc.subjectDeming Cycleen
dc.subjectSuksasongkroh Schoolsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Guidelines Development of Students Care System by using Deming Cycle for Suksasongkroh Schools in the Northeast under Special Education Bureauen
dc.titleการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้วงจรคุณภาพเดมมิ่ง สำหรับโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorLakkhana Sariwaten
dc.contributor.coadvisorลักขณา สริวัฒน์th
dc.contributor.emailadvisorlakkana.sariwat@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorlakkana.sariwat@hotmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010580017.pdf8.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.