Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2088
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPasunee Phonchareeen
dc.contributorภาสุณีย์ ผลชารีth
dc.contributor.advisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.advisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T11:13:18Z-
dc.date.available2023-09-07T11:13:18Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued2/4/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2088-
dc.description.abstractThe research aimed 1) to study the current condition, desirable condition, and the requirement to enhance the creative leadership of school administrators under Kalasin secondary educational office, and 2) to develop a program to promote the creative leadership of school administrators under Kalasin secondary educational office. The study could be divided into 2 phases as follows, The 1st phase was to study the current condition, desirable condition, and the requirement to enhance the creative leadership of 97 school administrators under Kalasin secondary educational office, chosen by stratified random sampling technique and classified by school sizes. A questionnaire was utilized as the research instrument. The 2nd phase was to develop a program to promote the creative leadership of school administrators under Kalasin secondary educational office. Best practices of 3 qualified people - obtained by a purposive sampling method -, and the program was evaluated by 5 qualified people – selected by a purposive sampling method. The research instrument consisted of interview and evaluation forms, and the suitability and probability of the promoting program of the creative leadership of school administrators. For the statistical data analysis, it comprised mean, standard deviation and Modified Priority Needs Index : PNImodifled. For the research outcomes, it could be stated that; 1. The overall current condition of the creative leadership enhancement of school administrators under Kalasin secondary educational office was at a high level. Considering each aspect, the highest one was visionary and ability to solve problems. Furthermore, the overall desirable condition of creative leadership development of school administrators under Kalasin secondary educational office was at the highest level. Considering each of aspects, the highest ones were individual consideration, flexibility and adaptation, visionary, and creativity; whereas, the ability to solve problems and the requirement to enhance the creative leadership of school administrators under Kalasin secondary educational office were at a high level. Respectively sorting from most to least, it could be shown as creativity, flexibility and adaptation, visionary, individual consideration, and problem-solving competence. 2. The program to enhance the creative leadership of school administrators under Kalasin secondary educational office consisted of 1) principles, 2) purposes, 3) contents, 4) activities/development method, and 5) measurement and evaluation. Contents included 5 modules, namely the 1st module was individual consideration, the 2nd module was flexibility and adaptation, the 3rd module was visionary, the 4th module was creativity, and the 5th module was problem-solving competence. The overall result of the measurement and evaluation was at the highest level of suitability and probability.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 97 คน ใช้เทคนิคการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ระยะที่ 2 พัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษาวิธีปฏิบัติที่ดีเยี่ยมจากผู้ทรงคุณวุฒิโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 3 คน และประเมินโปรแกรมโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมีการปฏิบัติทุกด้านในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการมีวิสัยทัศน์ และด้านความสามารถในการแก้ปัญหา ส่วนสภาพที่พึงประสงค์การเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาการปฏิบัติเป็นรายด้านพบว่า ด้านการคำนึงถึงปัจเจกบุคคล ด้านความยืดหยุ่นและปรับตัว ด้านการมีวิสัยทัศน์ และด้านความคิดสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านความสามารถ ในการแก้ปัญหาอยู่ในระดับมาก และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความคิดสร้างสรรค์ ด้านความยืดหยุ่นและการปรับตัว ด้านการมีวิสัยทัศน์ ด้านการคำนึงถึงปัจเจกบุคคล และด้านความสามารถในการแก้ปัญหา 2. โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหา 4) กิจกรรม/วิธีการพัฒนา 5) การวัดและประเมินผล เนื้อหาสาระประกอบด้วย 5 Module ได้แก่ Module 1 การคำนึงถึงปัจเจกบุคคล Module 2 ความยืดหยุ่นและปรับตัว Module 3 การมีวิสัยทัศน์ Module 4 ความคิดสร้างสรรค์ และ Module 5 ความสามารถในการแก้ปัญหา ซึ่งผลการประเมินโปรแกรมโดยรวมมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโปรแกรมภาวะผู้นำth
dc.subjectการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์th
dc.subjectLeadership Programen
dc.subjectEnhancement of Creative Leadershipen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Development of the Programs to Enhance a Creative Leadership of School Administrators in the Secondary Educational Service Area Office Kalasinen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.coadvisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.emailadvisorKarn.r@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorKarn.r@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010581036.pdf7.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.