Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2231
Title: Grand Song of Dong Ethnic Group in Southeast Guizhou, China
เพลงร้องประสานเสียงแกรนด์ซองของชาติพันธุ์ต้งในมณฑลกุ้ยโจว ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศจีน
Authors: Hang Cao
Hang Cao
Narongruch Woramitmaitree
ณรงค์รัชช์ วรมิตรไมตรี
Mahasarakham University
Narongruch Woramitmaitree
ณรงค์รัชช์ วรมิตรไมตรี
narongruch.w@msu.ac.th,narongracha99@gmail.com
narongruch.w@msu.ac.th,narongracha99@gmail.com
Keywords: แกรนด์ซอง
ชาติพันธุ์ต้ง
เพลงขับร้องประสานเสียงแกรนด์ซอง
มณฑลกุ้ยโจว ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศจีน
Grand Song
Dong ethnic group
Choral music of Dong
Southeast Guizhou
Issue Date:  20
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The dissertation is concerned with the study of the Grand Song of Dong Ethnic Group in Southeast Guizhou, China. has the following objectives: 1) To investigate the development and classification of the Grand Song of Dong ethnic group in Southeast Guizhou, China. 2) To analyze the musical characteristics of selected songs of the Grand Song of Dong ethnic group in Southeast Guizhou, China. 3) To describe the social function and era value of the Grand Song of Dong ethnic group in Southeast Guizhou, China. Using the theoretical methods of ethnomusicology, musicology, and sociology, the researcher investigated, analyzed, and described the data collected from a literature review and field work. The following research results related to the above research objectives were obtained: First, in the pluralistic and integrated pattern of the Chinese nation, the Dong ethnic group has created valuable material and spiritual civilizations in its development process. Throughout history, this choral music, as the core of the Grand Song phenomenon, has always been accompanied by the development of the Dong ethnic group. Second, people sing in two-voices mainly, melodies overlap in the movement of the high and low voices, and heterophonic texture is the most common. It not only has songs suitable for all ages, but also has its own unique original singing style. Lastly, people learn songs. On the one hand, they get education, enjoyment, socialization, and personality via singing. Moreover, the Grand Song, with its important academic value, unique artistic value, elegant spread, and green ecological economic value, has become a symbol of the integration of ethnic culture.
ดุษฎีนิพนธ์นี้ทำการศึกษาเรื่อง เพลงร้องประสานเสียงแกรนด์ซองของชาติพันธุ์ต้ง ในมณฑลกุ้ยโจว ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศจีน โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาและจำแนกประเภทของเพลงร้องประสานเสียงแกรนด์ซองของกลุ่มชาติพันธุ์ต้ง ในมณฑลกุ้ยโจว ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศจีน 2) เพื่อวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะทางดนตรีของเพลงร้องประสานเสียงแกรนด์ซองของกลุ่มชาติพันธุ์ต้ง ในมณฑลกุ้ยโจว ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศจีน 3) เพื่ออธิบายหน้าที่ทางสังคมและคุณค่าทางประวัติศาสตร์ของของกลุ่มชาติพันธุ์ต้ง ในมณฑลกุ้ยโจว ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศจีน โดยการศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยทาง ดนตรีชาติพันธุ์วิทยา ดนตรีวิทยา และสังคมวิทยา ผู้วิจัยได้ทำการตรวจสอบ วิเคราะห์ และอธิบายข้อมูลที่รวบรวมจากการทบทวนวรรณกรรมและการศึกษางานภาคสนาม ได้ผลวิจัยตามวัตถุประสงค์คือ ประการแรก พบว่า จากความหลากหลายทางเชื้อชาติและความสามัคคีของประชาชาติจีน กลุ่มชาติพันธุ์ต้งได้สร้างอารยธรรมทางวัตถุและจิตวิญญาณที่มีคุณค่าในกระบวนการพัฒนาตลอดประวัติศาสตร์ โดยเพลงร้องประสานเสียงแกรนด์ซองนี้เป็นปรากฏการณ์ ที่เกิดพร้อมกับการพัฒนาของกลุ่มชาติพันธุ์ต้งมาโดยตลอด ประการที่สอง ลักษณะทางดนตรีที่พบ คือ ใช้การร้องแบบสองแนวเป็นหลัก โดยแนวทำนองมีลักษณะการเคลื่อนที่แบบซ้อนทับกันของเสียงสูงและเสียงต่ำ เป็นเนื้อดนตรีแบบหลากแนว บทเพลงที่ใช้ร้องมีความเหมาะสมกับทุกเพศทุกวัย และมีสไตล์การร้องที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สุดท้าย พบว่าในที่สุดผู้คนสามารถเรียนรู้เพลง ทั้งยังได้รับการศึกษา ความเพลิดเพลิน ความสัมพันธ์ทางสังคม และ ความเป็นปัจเจกบุคคลผ่านการร้องเพลงนี้ด้วย นอกจากนี้ด้วยคุณค่าทางวิชาการที่สำคัญ คุณค่าทางศิลปะอันเป็นเอกลักษณ์ การเผยแพร่ที่สง่างาม และคุณค่าทางเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทำให้ "เพลงขับร้องประสานเสียงแกรนด์ซอง" ได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งการผสมผสานทางวัฒนธรรมของชาติ
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2231
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63012061022.pdf15.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.