Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2249
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNunthaphat Boonpengen
dc.contributorนันทพัทธ์ บุญเพ็งth
dc.contributor.advisorPhanat Photibaten
dc.contributor.advisorพนัส โพธิบัติth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T15:50:15Z-
dc.date.available2023-09-07T15:50:15Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued23/4/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2249-
dc.description.abstractThis qualitative study investigated 1) the current state and problems of the Indigo Dyeing Community Enterprise Group of Ban Non Sabaeng, 2) the adaptation techniques of the Indigo Dyeing Community Enterprise Group of Ban Non Sabaeng, and 3) the economic development techniques of the Indigo Dyeing Community Enterprise Group of Ban Non Sabaeng, Kantharawichai District, Maha Sarakham Province during the COVID-19 pandemic. The 35 informants included five experts, ten practitioners, and 20 ordinary people. A survey form, an observation form, an interview form, and a focus-group discussion were employed to collect data. The data were presented with a descriptive analysis. The findings are divided into three parts as follows: 1) As for the current state, the Group was established as advised by government agencies that came to the village to provide knowledge. The group had a board of committees according to the determined structure. Responsibilities within the group were divided into responsibilities assigned by the group structure and responsibilities assigned by production activities. Participation of members was divided into three aspects: participation in production, the decision-making process, and community activities. The production process consisted of two steps: indigo preparation and weaving. The group's products included shawls, scarves, shirts, and pants. As for the current problems, the group struggled with minutes of meetings and a lack of funding sources. 2) As for the adaptation techniques during the COVID-19 pandemic, the Group maintained the traditional working conditions and activities regarding personnel, production, and products. Marketing adaptation was significant to the group because it affected the group the most. The group, therefore, shifted to online marketing by allowing famous people within the community to sell products on live broadcasting through various online channels to serve customers’ change in buying behavior during the COVID-19 pandemic. 3) As for the economic development techniques during the COVID-19 pandemic, the group has developed personnel capabilities by promoting training programs and seminars on community enterprise management. In addition, the Group used three techniques for production development. First, actual data management should include procedures for collecting data. Second, flowcharting is a good basic tool to help the working group. Product development can be done in many ways, including product processing, the design of the packaging, and the presentation of the background or story of the product. Marketing development must begin with an analysis of the target customers. The group must also take into account the life cycle of the product.en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง รูปแบบการปรับตัวเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมครามบ้านโนนแสบง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมครามบ้านโนนแสบง 2) เพื่อศึกษารูปแบบการปรับตัวของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมครามบ้านโนนแสบง และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมครามบ้านโนนแสบง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโค-ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 35 ราย ประกอบไปด้วย กลุ่มผู้รู้ จำนวน 5 คน กลุ่มผู้ปฏิบัติ จำนวน 10 คน กลุ่มบุคคลทั่วไป จำนวน 20 คนเครื่องมือที่ใช้คือ 1) แบบสำรวจ 2) แบบสังเกต 3) แบบสัมภาษณ์ 4) การสนทนากลุ่ม และนำเสนอผลการวิจัยด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบัน ปัญหาของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมครามบ้านโนนแสบง กลุ่มได้รับการแนะนําในการจัดตั้งจากหน่วยงานราชการที่เข้ามาให้ความรู้ กลุ่มมีคณะกรรมการบริหารกลุ่มตามโครงสร้างที่กำหนดไว้ ในการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของภายในกลุ่ม แบ่งเป็น 2 ส่วน 1) แบ่งหน้าที่รับผิดชอบตามโครงสร้างกลุ่ม 2) แบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการผลิต การมีส่วนร่วมของสมาชิก สามารถแบ่งได้เป็น 3 ด้าน คือ 1) การมีส่วนร่วมในการผลิต 2) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 3) การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมชุมชน กระบวนการผลิต ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการเตรียมสีครามและขั้นตอนการทอ ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มประกอบไปด้วย ผ้าคลุ่มไหล่ ผ้าพันคอ เสื้อ กางเกง สภาพปัญหากลุ่มมีปัญหาเกี่ยวกับการจดบันทึกรายงานการประชุม ด้านการเงินการขาดแหล่งเงินทุนสนับสนุน 2) เพื่อศึกษารูปแบบการปรับตัวของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมครามบ้านโนนแสบง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ด้านบุคลากร ด้านการผลิต และด้านผลิตภัณฑ์ กลุ่มยังคงรักษาสภาพการทำงานกิจกรรมต่างๆ ดั้งเดิม การปรับตัวด้านการตลาดเป็นสิ่งที่กลุ่มให้ความสำคัญเป็นอย่างมากเพราะกลุ่มได้รับผลกระทบมากที่สุด กลุ่มจึงปรับตัวด้วยการทำการตลาดออนไลน์โดยให้บุคคลที่มีชื่อเสียงภายในชุมชนในการไลฟ์สดขายสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ต่างๆ เพื่อให้ตอบสนองต่อผู้บริโภคที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการซื้อสินค้าในช่วงการแพร่ระบาดชองเชื้อไวรัสโควิด-19 3) แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมครามบ้านโนนแสบง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโค-19 การพัฒนาบุคลากรทำได้โดยการส่งเสริมให้มีการจัดอบรม สัมมนาเกี่ยวกับการจัดการวิสาหกิจชุมชน การพัฒนาด้านการผลิตสินค้าสามารถทำได้โดย 1) การจัดการด้วยข้อมูลจริงควรจะมีขั้นตอนในการเก็บข้อมูลต่าง ๆ 2) การเขียนผังขั้นตอนการทำ งานเป็นเครื่องมือพื้นฐานที่ดีที่ช่วยให้กลุ่มคนที่ทำงาน 3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์สามารถทำได้หลายวิธีด้วย กัน ได้แก่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การออกบรรจุภัณฑ์และการมีตํานานหรือเรื่องราวของผลิตภัณฑ์ การพัฒนาการ ตลาดต้องเริ่มต้นจากการวิเคราะห์ถึงลูกค้ากลุ่มเป้าหมายและกลุ่ม ฯ จะต้องคำนึงถึงวงจรชีวิตของสินค้าด้วยth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectรูปแบบการปรับตัวth
dc.subjectพัฒนาเศรษฐกิจth
dc.subjectวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมครามth
dc.subjectModel Adaptationen
dc.subjectDevelop Economicen
dc.subjectCommunity Enterprise Producing indigo dyeen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationActivities of households as employers; undifferentiated goods- and services-producing activities of households for own useen
dc.subject.classificationSociology and cultural studiesen
dc.titleModel Adaptation to develop economic of Community Enterprise Producing indigo dye, Ban Non SaBang ,Kantharawichai district, Mahasarakham Province in during the spread of Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)en
dc.titleรูปแบบการปรับตัวเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมคราม บ้านโนนแสบง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPhanat Photibaten
dc.contributor.coadvisorพนัส โพธิบัติth
dc.contributor.emailadvisorphanat.p@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorphanat.p@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Arts (M.A.)en
dc.description.degreenameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineสำนักงานเลขาen
dc.description.degreedisciplineสำนักงานเลขาth
Appears in Collections:Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61012151006.pdf6.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.