Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2346
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMalulee Pensooken
dc.contributorมลุลี เป็นสุขth
dc.contributor.advisorTatsirin Sawangboonen
dc.contributor.advisorทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-12-20T13:21:43Z-
dc.date.available2023-12-20T13:21:43Z-
dc.date.created2021
dc.date.issued1/9/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2346-
dc.description.abstractThis research aims to 1) study the characteristics of the researches on learning management methods affecting on student’s mathematical problem solving competency in secondary level 2) evaluate the researches quality on learning management methods affecting on student’s mathematical problem solving competency in secondary level 3) compare the effect size of the characteristics of the researches on learning management methods affecting on student’s mathematical problem solving competency in secondary level. The researches that was synthesized were 99 graduated thesis that studied about learning management methods affecting on student’s mathematical problem solving competency in secondary level published during 2007 to 2020. The instruments were research quality evaluative form and research characteristics coding form. The data analysis included descriptive statistics and one way ANOVA. The finding were as follows:                                                                                  1. the researches that was studied about learning management methods affecting on student’s mathematical problem solving competency is published on 2017 (15.15%), from curriculum and instruction field/ instructional curriculum and educational technology (49.49%), Chulalongkorn University (24.24%). The synthesized researched used cluster random sampling (46.46%), and studied from grade 8 students (31.31%). Mostly researches studied about algebra (48.48%), took 10 to 15 hours (44.44%), and used One Group Pretest Posttest Design (52.53%). Almost all studied by defined the one – tailed test hypothesis (84.85%). The independent variable is learning and teaching models/methods/plan (91.92%). The dependent variable problem solving competency and other mathematical learning process (34.34%). The research instrument is a test (100.00%). Quality testing are a validity (100.00%), Index of Item Objective Congruence (81.82%), difficulty (96.97%), discrimination (94.95%), and reliability (97.98%). The learning management methods is problem based learning (51.92%). Mostly studied about Polya problem solving method (71.72%). The conclusion of the research was consistent with the research hypothesis (94.95%). The descriptive statistics are mean (100.00%) and standard deviation (98.99%). The inferential statistic is t-test (97.98%).                                                                                                         2. The result of evaluate the researches quality was found that overall the researches quality was great (M = 3.25, SD = 0.93). 50.51% of the researches were good and 49.49% were great.                                                     3. The characteristics of the researches which significantly accounted for the variation in the effect size were 5 variables those are experimental design, an independent variable, a learning and teaching models/methods/plan, type of learning and instructional media, and the study of more than 1 substance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาคุณลักษณะงานวิจัยที่ศึกษา เกี่ยวกับวิธีจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับ มัธยมศึกษา 2) เพื่อประเมินคุณภาพงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับวิธีจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา 3) เพื่อเปรียบเทียบ ค่าขนาดอิทธิพลของวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาจำแนกตามคุณลักษณะงานวิจัยงานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์ ด้วยวิธีการวิเคราะห์อภิมานในครั้งนี้เป็นการศึกษาค้นคว้าอิสระและวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิต ศึกษาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในช่วงปี พ.ศ. 2550–2563 จำนวน 99 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยประกอบด้วยแบบประเมินคุณภาพงานวิจัยและแบบบันทึกคุณลักษณะงานวิจัย วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยายและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า                                                                                                        1. งานวิจัยที่ศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ ส่วนใหญ่งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในปี 2557 (15.15%) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มากที่สุด (24.24%) ในสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน/หลักสูตรการสอนและเทคโนโลยี การศึกษา (49.49%) งานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มมากที่สุด (46.46%) โดยส่วนใหญ่ศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (31.31%) ในสาระที่ 4 พีชคณิต (48.48%) ใช้ระยะเวลาในการทดลอง 10 – 15 คาบ/ชม. มีการตั้งสมมติฐาน แบบมีทิศทาง (84.85%) ใช้แบบแผนการทดลอง One Group Pretest Posttest Design (52.53%) มีการศึกษาตัวแปรอิสระวิธีการจัดการเรียนรู้/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/ รูปแบบการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้ (91.92%) ตัวแปรตามที่ศึกษาส่วนใหญ่ เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและทักษะอื่นๆ (34.34%) เครื่องมือในการวิจัยเป็น แบบทดสอบ/แบบวัดความสามารถ/แบบวัดทักษะ (100.00%) โดยเครื่องมือในงานวิจัย ทุกเรื่องมีการหาค่าความเที่ยงตรง (100.00%) ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) (81.82%) ค่าความยากง่าย (96.97%) ค่าอำนาจจำแนก (94.95%) และค่าความเชื่อมั่น (97.98%) โดยวิธีการจัดการเรียนรู้/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีการศึกษา มากที่สุดเป็นการใช้ปัญหาเป็นฐาน (51.92%) มีส่วนใหญ่เป็นการศึกษาขั้นตอนการแก้ปัญหา ของ Polya (1957) (71.72%) การสรุปผลการวิจัยสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัย (94.95%) สถิติที่ใช้ในการวิจัยงานวิจัยทุกเรื่องมีการหาค่าเฉลี่ย (100.00%) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (98.99%)นอกจากนี้ยังมีใช้การหาค่าสถิติทดสอบที (t-test) เป็นสถิติทดสอบสมมติฐาน (97.98%)           2. ผลการประเมินคุณภาพของงานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์งานวิจัย จำนวน 99 เรื่อง โดยภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย(M) เท่ากับ 3.25 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.93 ซึ่งงานวิจัยดังกล่าวมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพดี จำนวน 50 เรื่อง (50.51%) และระดับคุณภาพดีมาก จำนวน 49 เรื่อง (49.49%)                                                 3. คุณลักษณะงานวิจัยที่ทำให้ค่าขนาดอิทธิพลต่างกัน มีจำนวน 5 ตัวแปร ได้แก่ แบบแผนการวิจัย ตัวแปรอิสระที่ใช้ในการวิจัย แผนการจัดการเรียนรู้/แผนการสอน/ หน่วยการเรียนรู้ ชนิดของสื่อการเรียนรู้/สื่อการสอน/ชุดกิจกรรม และการศึกษาเนื้อหา สาระมากกว่า 1 สาระการเรียนรู้                                                                     th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการสังเคราะห์งานวิจัยth
dc.subjectการวิเคราะห์อภิมานth
dc.subjectวิธีการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์th
dc.subjectResearch Synthesisen
dc.subjectMeta-Analysisen
dc.subjectLearning Management Methodsen
dc.subjectMathematical Problem Solvingen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Research Synthesis about Learning Management Methods Affecting on Student's Mathematical Problem Solving Competency in Secondary Levelen
dc.titleการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorTatsirin Sawangboonen
dc.contributor.coadvisorทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญth
dc.contributor.emailadvisortatsirin.s@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisortatsirin.s@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineResearch and Educational Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010584003.pdf4.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.