Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2348
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWaleerat Payothonen
dc.contributorวลีรัตน์ พะโยธรth
dc.contributor.advisorApantee Poonputtaen
dc.contributor.advisorอพันตรี พูลพุทธาth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-12-20T13:21:44Z-
dc.date.available2023-12-20T13:21:44Z-
dc.date.created2021
dc.date.issued8/8/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2348-
dc.description.abstractThe objectives of the research were; 1) to developing tests of mathematical probability for Mathayomsueksa 4 by New Bloom’s Taxonomy, 2) to discover quality. The sample of this study consisted of 600 Mattayomsueksa 4 students in the second semester of the academic year of 2020 in Surin Province, whom were obtained by using a Multi-Stage Random Sampling technique. Research instrument in this study was a multiple choice. The test has Unidimensionality according to factor analysis and data were analyzed with IRT PRO 5. The results of the study were as follows: For the result of finding out the quality of test items based on Item Respond Theory (IRT) and screening test items with required parameter, a group of 36 multiple choice items test was obtained with discriminating power (a) ranging between 0.52-2.44, difficulties (b) ranging between -0.39-1.13 and probabilities of correct guess (c) ranging between 0.09-0.20. It was also found that the item information function with an average of 7.00 and test information function has a maximum value of 17.18 .en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูมใหม่ 2) เพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย เรื่อง ความน่าจะเป็น  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูมใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ จำนวน 600 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi–Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยเป็นแบบทดสอบแบบปรนัย วิเคราะห์ความเป็นมิติเดียวของแบบทดสอบ โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม IRTPRO 5 ผลการวิจัยพบว่า ได้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูมใหม่ โดยเป็นแบบทดสอบแบบปรนัยจำนวน 36 ข้อ มีอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.52 ถึง 2.44 ค่าความยากอยู่ระหว่าง -0.39 ถึง 1.13 และค่าโอกาสการเดาถูก (c) อยู่ระหว่าง 0.09 ถึง 0.20 ค่าฟังก์ชันสารสนเทศของข้อสอบมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ7.00 และ ค่าฟังก์ชันสารสนเทศของแบบทดสอบมีค่าสูงสุดที่ 17.18th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectความน่าจะเป็นth
dc.subjectทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูมใหม่th
dc.subjectAchievement Testen
dc.subjectProbabilityen
dc.subjectBloom’s Taxonomyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Development of Achievement Test of Probability According to Bloom’s Taxonomy : Applying Item Response Theory For Grade 10th Studenten
dc.titleการพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูมใหม่ : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorApantee Poonputtaen
dc.contributor.coadvisorอพันตรี พูลพุทธาth
dc.contributor.emailadvisoroomsin.putta@gmail.com
dc.contributor.emailcoadvisoroomsin.putta@gmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineResearch and Educational Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010584004.pdf7.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.