Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2350
Title: Development of Problem-based Learning Activities Incorperated with Flipped Classroom to Promote Physics Learning Achievement and Problem Solving Thinking Ability of Mathayomsuksa 4 Students
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ และความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Authors: Siriyakorn Chaonahee
สิริยากร ชาวนาฮี
Kanyarat Cojorn
กัญญารัตน์ โคจร
Mahasarakham University
Kanyarat Cojorn
กัญญารัตน์ โคจร
kanyarat.c@msu.ac.th
kanyarat.c@msu.ac.th
Keywords: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
แนวคิดห้องเรียนกลับด้าน
Learning achievement
the problem solving thinking ability
Problem-based learning activities
Flipped classroom
Issue Date:  25
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The research objectives were 1) to determine the effectiveness of problem-based learning activities incorperated with flipped classroom concepts to have a required efficiency of 70/70 2) to develop the physics learning achievement of Mathayomsuksa 4 students pass the criteria 70% of full score 3) to develop the problem solving thinking ability of Mathayomsuksa 4 students pass the criteria 70% of full score. The sample used in this study consisted of 19 students in Mathayomsuksa 4/2, studied in the 2nd semester of academic year 2020, Rajabhat Maha Sarakham University Demonstration School. Research instruments were problem-based learning lesson plan incorperated with flipped classroom concept of physics, achievement test and problem solving thinking skill test. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and scores efficiency testing E1/E2. The research results can be summarized as follows 1. The efficiency of problem-based learning activities incorperated with flipped classroom was of 76.35/71.00, which was in accordance with the criterion set.                                                                                                                                                                        2. Physics learning achievement of students that have been problem-based learning activities incorperated with flipped classroom, the average score was 21.30 or 71% pass the criteria 70% of full score. 3. Problem solving thinking ability of students that have been problem-based learning activities incorperated with flipped classroom, the average score was 54.16 or 75.22% pass the criteria 70% of full score.
การวิจัยครั้งมีความมุ่งหมาย 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีคะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม 3) เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีคะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 จำนวน 19 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่  แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านวิชาฟิสิกส์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าประสิทธิภาพ E1/E2  ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านมีประสิทธิภาพเท่ากับ 76.35/71.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้                                  2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 21.30 คิดเป็นร้อยละ 71.00 ซึ่งพบว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์หลังเรียนมีคะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็มที่กำหนดไว้                                          3. ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 54.16 คิดเป็นร้อยละ 75.22 ซึ่งพบว่าคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหามีคะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็มที่กำหนดไว้
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2350
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010551006.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.