Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2359
Title: Development of Knowledge Management in Schools in Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5
การพัฒนาเเนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนเเก่น เขต 5
Authors: Chamaiporn Pearjun
ชไมพร เพียจุน
Suwat Junsuwan
สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์
Mahasarakham University
Suwat Junsuwan
สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์
suwat.j@msu.ac.th
suwat.j@msu.ac.th
Keywords: การพัฒนา
แนวทางการจัดการความรู้
สถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5
Development
Guidelines of Knowledge Management
Schools in Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5
Issue Date:  25
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The study aimed to 1) study the current condition, desirable condition and necessity of knowledge management in schools in Khon Kaen primary educational service area office 5 and 2) to develop guidelines of knowledge management in schools in Khon Kaen primary educational service area office 5. The study was conducted in 2 phases: phase 1, the current condition and desirable condition were studied from 347 under Khon Kaen primary educational service area office 5 in academic year 2019 using questionnaires as research instrument. During phase 2, the guidelines of knowledge management in schools in Khon Kaen primary educational service area office 5 were developed by the school directors with best practices using interview as research instrument and were assessed by 5 experts. The findings show that: 1. The result of current conditions and desirable conditions. The current conditions of knowledge management in schools in Khon Kaen primary educational service area office 5 as whole was at high level, x̅ = 4.50 When consideration on each aspect, were found 4 aspect at highest level and 2 aspects were at high level, can be sorted in ascending order on the tip three were, The first has two aspect Knowledge Acquisition Knowledge Utilization The second  has two Knowledge Acquiescing Knowledge Sharing and The third Knowledge Acquiescing. The desirable conditions as whole was at highest level, x̅ = 4.71 When consideration on each aspect were found 6 aspect at highest level, the average order can be sorted in ascending order on the top three were Knowledge Acquiescing Knowledge Storing and Knowledge Sharing. 2. Necessity in the current condition, desirable condition of knowledge management in schools in Khon Kaen primary educational service area office 5 whole was level, PNImodified = 0.376 The study was divided, Knowledge Storing, Knowledge Sharing, Knowledge Utilization, Knowledge Acquiescing, Knowledge Development and Knowledge Acquisition 3. Guidelines of knowledge management in schools in Khon Kaen primary educational service area office 5 with prior necessity are Knowledge Acquiescing 12 guidelines, Knowledge Acquisition 14 guidelines, Knowledge Development 8 guidelines, Knowledge Storing 13 guidelines, Knowledge Sharing 10 guidelines and Knowledge Utilization 11 guidelines.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 จากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน จำนวน 347 คน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือคือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ ระยะที่ 2 พัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 จากผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี เครื่องมือคือแบบสัมภาษณ์ จากนั้นประเมินแนวทางโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ สภาพปัจจุบันการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่นเขต 5 โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่า x̅ = 4.50 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 4 ด้าน ระดับมาก 2 ด้าน โดยสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยสามอันดับได้ดังนี้ อันดับแรกมีสองด้านคือ ด้านการแสวงหาความรู้ ด้านการประยุกต์ใช้ความรู้ อันดับสองด้านการกำหนด ด้านการแลกเปลี่ยน และอันดับสามด้านการสร้างความรู้   สภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่า x̅ = 4.71 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด 6 ด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย สามอันดับแรกได้ดังนี้ ด้านการกำหนดความรู้ ด้านการจัดเก็บความรู้และ ด้านการแลกเปลี่ยนความรู้ 2. ความต้องการจำเป็นของสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 ค่า PNImodified มีค่าเท่ากับ 0.376 เรียงลำดับผลต่างจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การจัดเก็บความรู้ การแลกเปลี่ยนความรู้ การประยุกต์ใช้ความรู้ การกำหนดความรู้ การสร้างความรู้และการแสวงหาความรู้ 3. แนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 เรียงตามความต้องการจำเป็นและความต้องการพัฒนา ดังนี้ ด้านการจัดเก็บความรู้ 13 แนวทาง ด้านการแลกเปลี่ยนความรู้ 10 แนวทาง ด้านการประยุกต์ใช้ความรู้ 11 แนวทาง ด้านการกำหนดความรู้ 12 แนวทาง  ด้านการสร้างความรู้ 8 แนวทาง และด้านการแสวงหาความรู้ 14 แนวทาง
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2359
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010586015.pdf5.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.