Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2385
Title: Developing Guidelines for Academic Administration of Educational Institutions in the Digital Age under Kalasin Primary Educational Service Areas Office 2
การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2
Authors: Natjariporn Khairassamee
นัฎจรีภรณ์ ไขรัศมี
Suttipong Hoksuwan
สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ
Mahasarakham University
Suttipong Hoksuwan
สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ
suttipong.h@msu.ac.th
suttipong.h@msu.ac.th
Keywords: การพัฒนา
แนวทาง
การบริหารงานวิชาการในยุคดิจิทัล
Developing
Guidelines
Academic Administration in the Digital Era
Issue Date:  7
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The present study aimed 1) to investigate the current situations, desirable situations, and needs of academic administration of schools under Kalasin primary educational service area office 2 in the digital era, 2) to design, to develop and to evaluate the guidelines of academic administration of schools under Kalasin primary educational service area office 2 in the digital era. The study divided into 2 phases. Phase 1 was the study related to the current situations, desirable situations, and needs of academic administration of schools under Kalasin primary educational service area office 2 in the digital era, the sample was 624 consisted of schools’ administrators and teachers selected by stratified sampling and sized by using table of Krejcie and Morgan. The instrument used was 5 rating scales questionnaire. The data were analyzed using mean, standard deviation and priority needs index (PNImodified). Phase 2 was the study related to developing guidelines of academic administration of schools under Kalasin primary educational service area office 2 in the digital era from 3 schools were there were the best practicing, the informants were 5 of schools’ administrators and teachers. The instruments used were semi–structured interview form, appropriateness and feasibility evaluation form evaluated by 5 of experts who were selected by purposive sampling. The statistics used were mean, standard deviation and content analysis. The results of the study revealed as follows; 1. The results of current situations revealed that overall rated in more level (x̅ = 4.16), when considered into each aspect pointed out that the highest mean were academic planning, educational evaluation and assessment, and credits transferring aspect (x̅ = 4.17). The results of desirable situations showed that overall rated in the most level (x̅ = 4.52), when considered into each aspect pointed out that the highest mean were academic planning and research for educational quality (x̅ = 4.84). The result of needs revealed that the most needed was research for educational quality (PNImodified = 0.166). 2. The results of developing guidelines of academic administration of schools under Kalasin primary educational service area office 2 in the digital era comprised of 5 elements 35 guidelines; 1) academic planning aspect consisted of 8 guidelines, 2) schools’ curriculum development aspect comprised of 10 guidelines, 3) educational evaluation and assessment, credits transferring aspect consisted of 6 guidelines, 4) research for educational quality aspect comprised of 5 guidelines and 5) educational supervision aspect consisted of 6 guidelines. The results of appropriateness and feasibility evaluation yielded that overall rated in the most level, when considered into each aspect found out that appropriateness of the guidelines rated in the most level (x̅ = 4.79), the highest mean was research for educational quality aspect (x̅ = 4.84), the feasibility of the guidelines rated in the most level (x̅ = 4.88), the highest mean was academic planning aspect, educational evaluation and assessment, credits transferring aspect and educational supervision aspect (x̅ = 4.90).
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2) เพื่อออกแบบ สร้าง และประเมินแนวทางการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารและครู จำนวน 624 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ กำหนดขนาดโดยใช้ตารางเครจซี่ และมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จากการศึกษาสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติดีเยี่ยม (Best Practices) จำนวน 3 โรงเรียน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารและครู จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและประเมินความเหมาะสมและเป็นไปได้ของแนวทางการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.16) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการวางแผนงานวิชาการ และด้านการวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน (x̅ = 4.17) สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.52) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการวางแผนงานด้านวิชาการ และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา (x̅ = 4.84) และลำดับความต้องการจำเป็น (PNImodified) ของการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ด้านที่มีความจำเป็นมากที่สุด คือ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา (PNImodified = 0.166) 2. การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 35 แนวทาง ได้แก่ 1) ด้านการวางแผนงานด้านวิชาการ 8 แนวทาง 2) ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา 10 แนวทาง 3) ด้านการวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน 6 แนวทาง 4) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5 แนวทาง 5) ด้านการนิเทศการศึกษา 6 แนวทาง ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 อยู่ในระดับมากที่สุด พบว่า แนวทางมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.79) โดยด้านที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา (x̅ = 4.84) ความเป็นไปได้ของแนวทางโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.88) โดยด้านที่มีความเป็นไปได้มากที่สุด คือ ด้านการวางแผนงานด้านวิชาการ ด้านการวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน และด้านการนิเทศการศึกษา (x̅ = 4.90)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2385
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010581023.pdf6.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.