Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2387
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Ornuma Kaewseeya | en |
dc.contributor | อรอุมา แก้วสียา | th |
dc.contributor.advisor | Surachet Noirid | en |
dc.contributor.advisor | สุรเชต น้อยฤทธิ์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-20T13:21:51Z | - |
dc.date.available | 2023-12-20T13:21:51Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 25/8/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2387 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were 1) to study the current conditions, desirable conditions and needs of strategic management of the office of non-formal and informal education in Roi-et province 2) to establish the guidelines for strategic management of the office of non-formal and informal education in Roi-et province. The research divided into 2 phrases. Phrase 1 was the study of the current conditions, desirable conditions and need of strategic management of the office of non-formal and informal education in Roi-et province. Data was collected in two phrases. There were 188 samples; school directors, teachers, and academic officers, selected by stratified random sampling. Phrase 2 was the guidelines of developing strategic management of the office of non-formal and informal education in Roi-et province. There were 6 best practices from the office of non-formal and informal education in Nongbualumphu province which were the office director, vice director and staffs by purposive sampling. The result shown that: 1. The current conditions of strategic management of the office of non-formal and informal education in Roi-et province showed that the overall was at the medium level. In order of average from highest to lowest which were strategic formulation, control and evaluation of strategies, strategic analysis, and implementation of strategies. The overall desirable conditions of strategic management of the office of non-formal and informal education in Roi-et province was at the medium level. In order of average from highest to lowest which were control and evaluation of strategies, strategic formulation, implementation of strategies and strategic analysis. Having the needs of strategic management of the office of non-formal and informal education in Roi-et province, implementation of strategies was the most required element, strategic analysis, control and evaluation of strategies and strategic formulation were required in order of priority. 2. The guidelines of developing strategic management of the office of non-formal and informal education in Roi-et province consisted of 32 guidelines. There were 8 guidelines of each element: strategic analysis, strategic formulation, implementation of strategies and control and evaluation of strategies. Based on the expert’s evaluation of suitability and possibility was at the highest level. In consideration of each foundation element, revealed that each of them was also at a highest level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาแนวทางพัฒนาการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักวิชาการ จำนวน 188 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ระยะที่ 2 แนวทางพัฒนาการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มผู้ให้ข้อมูลของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดหนองบัวลำภู ที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practices) โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ได้แก่ ผู้อำนวยการศูนย์ รองผู้อำนวยการศูนย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่ผู้อำนวยการมอบหมาย จำนวน 4 คน จากสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดหนองบัวลำภู รวมทั้งสิ้น 6 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ การกำหนดกลยุทธ์ การประเมินและควบคุมกลยุทธ์ และการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ตามลำดับ สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ 1) การประเมินและควบคุมกลยุทธ์ การกำหนดกลยุทธ์ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ วิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ ตามลำดับ ความต้องการจำเป็นของการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า เรียงตามลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การประเมินและควบคุมกลยุทธ์ และการกำหนดกลยุทธ์ ตามลำดับ 2. แนวทางพัฒนาการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า ได้แนวทางพัฒนาการบริหารเชิงกลยุทธ์ทั้งหมด 32 แนวทาง มีด้านการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 8 แนวทาง ด้านการกำหนดกลยุทธ์ 8 แนวทาง ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 8 แนวทาง และด้านการประเมินและควบคุมกลยุทธ์ 8 แนวทาง โดยรวมมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้านเช่นเดียวกัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | แนวทางพัฒนา | th |
dc.subject | การบริหารเชิงกลยุทธ์ | th |
dc.subject | Guidelines of Developing | en |
dc.subject | Strategic Management | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | Guidelines for Developing Strategic Management of the Office of Non-Formal Education Promotion and Informal Education Roi Et Province | en |
dc.title | แนวทางพัฒนาการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Surachet Noirid | en |
dc.contributor.coadvisor | สุรเชต น้อยฤทธิ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | surachet.n@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | surachet.n@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Educational Administration | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64010581069.pdf | 7.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.