Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2392
Title: THE DEVELOPMENT OF ACTIVE LEARNING AND ONLINE TOOLS FOR SUPPORTING VIETNAMESE READING FOR COMPREHENSION ABILITY AND PARTICIPATION OF MAHASARAKHAM UNIVERSITY STUDENTS
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับช่องทางการเรียนรู้ออนไลน์ที่ส่งเสริมความสามารถการอ่านภาษาเวียดนามเพื่อความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Authors: Hoai Nguyen
Hoai Nguyen Thu
Thanadol Phuseerit
ธนดล ภูสีฤทธิ์
Mahasarakham University
Thanadol Phuseerit
ธนดล ภูสีฤทธิ์
thanadol.p@msu.ac.th
thanadol.p@msu.ac.th
Keywords: การจัดการเรียนรู้เชิงรุก
ช่องทางการเรียนรู้ออนไลน์
ความสามารถการอ่านภาษาเวียดนามเพื่อความเข้าใจ
การมีส่วนร่วม
Active Learning
online tools
Vietnamese reading comprehension ability
participation
Issue Date:  19
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of this research were: 1) to study the practice of active learning management with online tools that promote Vietnamese reading ability for comprehension and participation of Mahasarakham University students. 2) to study the ability to read Vietnamese for comprehension after learning management with criteria points of 70%. 3) to study students' participation, and 4) to study satisfaction with learning management. The target population consisted of 14 students in first-year ASEAN Languages and Culture (Vietnamese Major), Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahasarakham University, semester 2/2022. This research is action research with four spirals. The research tools were: 1) Lesson plans 2) The feedback tools included post-learning recordings, the observation form of student participation behavior during learning management, the student interview form, and end-of-spiral mini tests. 3) The assessment tools for effective learning management were Vietnamese reading comprehension test and the satisfaction questionnaire. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, and standard deviation. The results of the research appeared as follows: 1. The active learning management model with online tools that promote Vietnamese reading comprehension and participation of Mahasarakham University students includes: There are two main steps: (1) Preparing classroom activities using Line and Google Classroom; (2) Managing classroom activities, which has 3 sub-steps: 1) Pre-reading using Kahoot; 2) While-reading; and 3) Post-reading using Canva. 2. An average value of Vietnamese reading comprehension ability of students is 24.79 out of 30 full marks, calculated in percentage as 86.62%, there are 13 of 14 students who pass the criteria of standard, calculated in percentage as 92.85%, which is higher than the threshold. 3. The students’ participation was 4.32, which was at the high level. 4. The students’ satisfactions according to the active learning management with online tools were 4.64, which was at the highest level.
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย (1) เพื่อศึกษาปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับช่องทางการเรียนรู้ออนไลน์ที่ส่งเสริมความสามารถการอ่านภาษาเวียดนามเพื่อความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (2) เพื่อศึกษาความสามารถการอ่านภาษาเวียดนามเพื่อความเข้าใจตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 (3) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของนิสิตที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับช่องทางการเรียนรู้ออนไลน์ และ (4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับช่องทางการเรียนรู้ออนไลน์ กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นิสิตชั้นปีที่ 1 หลักสูตรภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน (เวียดนาม) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2/2565 จำนวน 14 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งมี 4 วงจร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองปฏิบัติการ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับช่องทางการเรียนรู้ออนไลน์ จำนวน 4 แผน (2) เครื่องมือที่ใช้สะท้อนผล ได้แก่ แบบอนุทิน แบบประเมินการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของนิสิต แบบบันทึกการสัมภาษณ์นิสิต แบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านภาษาเวียดนามเพื่อความเข้าใจท้ายวงจร (3) เครื่องมือที่ใช้ประเมินการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ แบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านภาษาเวียดนามเพื่อความเข้าใจ และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับช่องทางการเรียนรู้ออนไลน์ที่ส่งเสริมความสามารถการอ่านเพื่อความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามประกอบด้วย 2 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมชั้นเรียน โดยใช้ Line และ Google classroom (2) ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ซึ่งมีขั้นย่อย 3 ขั้น คือ 1) ขั้นนำ (Pre-Reading) โดยใช้ Kahoot 2) ขั้นอ่าน (While-Reading) และ 3) ขั้นหลังการอ่าน (Post-Reading) โดยใช้ Canva 2. นิสิตมีคะแนนความสามารถการอ่านภาษาเวียดนามเพื่อความเข้าใจโดยเฉลี่ย คือ 24.79 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.62 และมีนิสิตสอบผ่านเกณฑ์ จำนวน 13 คน จากจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 92.85 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 3. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของนิสิต ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งค่าเฉลี่ยคะแนนการมีส่วนร่วมเท่ากับ 4.32 4. นิสิตมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกร่วมกับช่องทางการเรียนรู้ออนไลน์ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจเท่ากับ 4.64
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2392
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010583010.pdf9.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.