Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2393
Title: Development of a skill training kit focused on lattice techniques  For 4th grade students
การพัฒนาชุดฝึกทักษะที่เน้นเทคนิคแบบแลททิซ  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Authors: Sutthirat Chalermsan
สุทธิรัตน์ เฉลิมแสน
Apantee Poonputta
อพันตรี พูลพุทธา
Mahasarakham University
Apantee Poonputta
อพันตรี พูลพุทธา
oomsin.putta@gmail.com
oomsin.putta@gmail.com
Keywords: ชุดฝึกทักษะ
เทคนิคแบบแลททิซ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
Skill Set
Lattice Technique
Learning Achievement
Issue Date:  3
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The objectives of this research were 1) to develop a set of skills focused on lattice techniques for 4th grade students to be effective according to the 75/75 criteria 2) to compare the achievement before and after the class. From the use of a skill set that focuses on lattice techniques. 3) To study the satisfaction of 4th graders affecting lattice-based skill sets. The samples in this study were students studying in grade 4, semester 2, academic year 2022, Ban Soknadi School. Ban Khok Subdistrict, Khok Pho Chai District, Khon Kaen Province, Khon Kaen Elementary School District 2 Office, 12 students were selected by selecting from the students who had taken the NT test and the NT pre-NT test created by the researcher and had low multiplication skills. There are 3 types of research tools: (1) Lattice-based multiplication training kits of students in 7th grade, 4th grade;  (2) Pre- and post-study multiplication skills 24 items with an index value (IOC) of 0.6-1.00, difficulty (p) from 0.25 – 0.63, classification power (B) from 0.22 – 0.73, confidence of 0.85 (3) satisfaction questionnaire affecting lattice-based multiplication training kits. It is a rating scale of 10 4th graders, statistics used to analyze data, averages, standard deviations. Percentage efficiency (E1/E2) and t-test (Dependent Samples). The results of the study were as follows: 1. Lattic-based training kits For 4th graders, the efficiency (E1/E2) was 78.26/77.08, which is higher than the set threshold of 75/75 2. 4th grade students who study using a set of skills that focus on lattice techniques. Statistically significantly higher post-study achievement than before school at .05 3. 4th graders who study using a set of skills that focus on lattice techniques. Overall, there is the highest level of satisfaction. (x̅ = 4.66, S.D. = 0.48)
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาชุดฝึกทักษะที่เน้นเทคนิคแบบแลททิซ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคูณก่อนและหลังเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะที่เน้นเทคนิคแบบแลททิซ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีผลต่อการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะที่เน้นเทคนิคแบบแลททิซ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านโสกนาดี จำนวน 12 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัย มี 3 ประเภท ได้แก่ (1) ชุดฝึกทักษะการคูณที่เน้นเทคนิคแบบแลททิซ (2) แบบวัดทักษะการคูณ ลักษณะเป็นแบบอัตนัย จำนวน 24 ข้อ มีค่า IOC เท่ากับ 1.00 ค่าความยาก (p) ตั้งแต่ 0.589 – 0.795 มีค่าอำนาจจำแนก (r) ตั้งแต่ 0.214 – 0.429 มีค่าเชื่อมั่น เท่ากับ 0.985 (3) แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ ประสิทธิภาพ (E1/E2) และ t-test (Dependent  Samples) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. ชุดฝึกทักษะที่เน้นเทคนิคแบบแลททิซ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 78.26/77.08 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 75/75 2. นักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะที่เน้นเทคนิคแบบแลททิซ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะที่เน้นเทคนิคแบบแลททิซ อยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.66, S.D. = 0.48)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2393
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010588018.pdf5.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.