Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2442
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Venus Promsorn | en |
dc.contributor | วีนัส พรมสอน | th |
dc.contributor.advisor | Nachalida Yukalang | en |
dc.contributor.advisor | ณัชชลิดา ยุคะลัง | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-20T15:17:28Z | - |
dc.date.available | 2023-12-20T15:17:28Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 1/9/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2442 | - |
dc.description.abstract | The problem of waste from offices tends to increase, as does the amount of waste around the world. Especially in urban society. Office waste has a high proportion of recyclables. However, it was found that the actual benefit was less than it should have been. This action research aims to develop a model for recycling waste management in the Mart building, the Department of Science Service of the Ministry of Higher Education, Science, Research, and Innovation. The study was conducted among the target group of 184 people who were involved in waste management in the organization. They were randomly sampled. A sample of 124 people was obtained, and the data was collected using the generated questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics such as the paired sample test and inferential statistics such as content analysis. The study found that the operation process for managing waste recycling this time consists of four processes: 1) planning, 2) implementation, 3) observation, and 4) reflection It consists of nine steps: 1) analyze the waste situation in the research area; 2) organize workshops; 3) summarize issues and problems and prepare action plans; 4) execute according to the plan; 5) Create media to educate and publicize; 6) use public relations to educate; 7) assess before and after operations; 8) observe behaviour and participation; and 9) organize learning exchange activities by bringing the results from analyzing the context and situation into the process. Participants' behaviour was measured in terms of knowledge, attitude, practice and participation. It was found that after the operation, there was an improvement in knowledge, practices, and participation that was statistically significant at a p-value equal to 0.05. However, their attitudes about recycling waste were not significantly different at a p-value equal to 0.086. The result of this operation shows that it was able to increase the amount of recyclable waste by 3.73% and was successful in systematically disposing of waste in the organization. There are five success factors: 1) volunteerism at work; 2) empowerment of people leading activities; 3) networking at work; 4) working together in unity; and 5) creating agency strategies. In summary, the performance of the development of the waste management model for recycling in the Mard building, the Department of Science Service is that knowledgeable personnel can analyze and assess problems based on the context of the basic information of the organization, exchange knowledge, or hold workshops. Then bring the action plan according to the plan created. These processes are factors that can help increase the amount of recycled waste and reduce the amount of waste in the organization by promoting and encouraging personnel to participate and have appropriate recycling waste management in the context of the office. | en |
dc.description.abstract | ปัญหามูลฝอยจากสำนักงานที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกับปริมาณมูลฝอยทั่วโลก โดยเฉพาะในสังคมเมือง ซึ่งมูลฝอยสำนักงานมีสัดส่วนของมูลฝอยรีไซเคิลได้ในสัดส่วนที่สูง แต่กลับพบว่ามีการนำกลับมาได้ประโยชน์จริงน้อยกว่าที่ควรจะเป็น การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการมูลฝอยรีไซเคิล ในอาคารมาตร กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ทำการศึกษาในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการ จัดการมูลฝอยในหน่วยงานจำนวน 184 คน ทำการสุ่มตัวอย่างโดยไม่จำเพาะเจาะจง ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 124 คน และเก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ Paired Samples Test และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา การศึกษา พบว่า กระบวนการดำเนินงานเพื่อจัดการมูลฝอยรีไซเคิลครั้งนี้ ประกอบด้วย 4 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวางแผน 2) ลงมือปฏิบัติ 3) สังเกตการณ์ และ 4) สะท้อนผล และประกอบด้วย 9 ขั้นตอน ได้แก่ 1) วิเคราะห์สถานการณ์มูลฝอยในพื้นที่วิจัย 2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 3) สรุปประเด็น ปัญหา และจัดทำแผนการปฏิบัติ 4) ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 5) สร้างสื่อในการให้ความรู้และ ประชาสัมพันธ์ 6) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ 7) ประเมินผลก่อนและหลังการดำเนินงาน 8) สังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม และ 9) การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยนำผลการดำเนินงานตั้งแต่ วิเคราะห์บริบทและสถานการณ์ในกระบวนการดำเนินงาน ได้ทำการวัดพฤติกรรมของผู้ร่วมกระบวนการในด้านความรู้ เจตคติ การปฏิบัติ และการมีส่วนร่วมพบว่าหลังการดำเนินงานมีการเปลี่ยนแปลงความรู้ การปฏิบัติและการมีส่วนร่วมดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ p-value เท่ากับ 0.05 แต่พบว่าเจตคติเกี่ยวกับมูลฝอยรีไซเคิลมีแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ p-value เท่ากับ 0.086 ผลการดำเนินงานพบว่าสามารถเพิ่มปริมาณมูลฝอยรีไซเคิลได้ 3.73% และมีผลสำเร็จในการกำจัดมูลฝอยในหน่วยงานได้อย่างเป็นระบบ โดยมีปัจจัยแห่งความสำเร็จ 5 ข้อ คือ 1) การมีจิตอาสาในการทำงาน 2) การเสริมพลังอำนาจของคนที่นำกิจกรรม 3) การมีเครือข่ายในการทำงาน 4) การทำงานร่วมกันอย่างมีเอกภาพ และ 5) การสร้างกลยุทธ์ของหน่วยงาน โดยสรุป ผลการดำเนินงานการพัฒนารูปแบบการจัดการมูลฝอยรีไซเคิล อาคารมาตร กรมวิทยาศาสตร์บริการ คือ การที่บุคลากรมีความรู้สามารถวิเคราะห์และประเมินปัญหาตามบริบทข้อมูลพื้นฐานขององค์กรเพิ่มขึ้น มีการวางแผน การดำเนินงาน นำไปสู่การสนทนาและแลกเปลี่ยนความรู้ หรือประชุมเชิงปฏิบัติการ จากนั้นนำแผนการดำเนินงานตามแผนงานที่สร้างขึ้น ซึ่งกระบวนการเหล่านี้เป็นปัจจัยที่สามารถ ช่วยเพิ่มปริมาณมูลฝอยรีไซเคิลและช่วยลดปริมาณมูลฝอยในหน่วยงานได้ โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ บุคลากรในหน่วยงานมีส่วนร่วมและมีการจัดการมูลฝอยรีไซเคิลที่เหมาะสมในบริบทของสำนักงาน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | มูลฝอยรีไซเคิล | th |
dc.subject | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ | th |
dc.subject | การมีส่วนร่วม | th |
dc.subject | recycled waste | en |
dc.subject | Action Research | en |
dc.subject | Engagement | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Environmental Science | en |
dc.subject.classification | Water supply; sewerage, waste management and remediation activities | en |
dc.subject.classification | Medical diagnostic and treatment technology | en |
dc.title | The Development of Recycle Waste Management Model, Mard Building, Department of Science Service | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการจัดการมูลฝอยรีไซเคิล อาคารมาตร กรมวิทยาศาสตร์บริการ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nachalida Yukalang | en |
dc.contributor.coadvisor | ณัชชลิดา ยุคะลัง | th |
dc.contributor.emailadvisor | nachalida.y@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | nachalida.y@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Public Health |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64011481017.pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.