Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2504
Title: | Development of a training program to develop family attachment of adolescents according to MBCT การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความผูกพันในครอบครัวของวัยรุ่นตามแนว MBCT |
Authors: | Pal Srijundaree ปาล ศรีจันดารี Rungson Chomeya รังสรรค์ โฉมยา Mahasarakham University Rungson Chomeya รังสรรค์ โฉมยา rungson.c@msu.ac.th rungson.c@msu.ac.th |
Keywords: | โปรแกรมฝึกอบรม ความผูกพันในครอบครัว วัยรุ่น Attachment in family Adolescents Training program |
Issue Date: | 11 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The purpose of this research is 1) to study the compositions of adolescents’ family attachment 2) to develop a training program that strengthen the family attachment of adolescents 3) to compare the adolescents’ family attachment both before and after participating in the research program. Samples of this research were divided into 3 phases: Phase 1, 1,000 students were purposely selected (Purposive sampling) The samples in the study of the components of adolescents’ family attachment, phase 2, 19 students were purposely selected (Purposive sampling) to be the examples of creating and developing a training program, phase 3, a total of 16 students were purposely selected (Purposive sampling) to attend an adolescents’ family attachment training.
The results of the study can be summarized as follows:
1.) The adolescents’ family attachment consists of 7 elements: mutual understanding, good relationships in the family, joint activities, problem coping, self-respect, individual identity, and family discipline. The model fitted the empirical data as there was a significantly high standardized factor loadings at .05 level.
2.) Training programs for developing adolescent family attachment It consisted of 9 activities totaling 13 hours 30 minutes 9 sessions of 1.30 hours each, divided into control group and experimental group. The structure of the training program consists of 3 steps: 1. Evaluation before training. 2. Promotion 3. Evaluation after training.
3.) In sample groups of pre-and post-experimental family attachment development programs for adolescents, there were statistically significant differences at the level of .01. While the intervention group and the control group in before and after the experiment had the differences with statistical significance at the level of .01. การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของความผูกพันในครอบครัวของวัยรุ่น 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความผูกพันในครอบครัวของวัยรุ่น 3) เพื่อเปรียบเทียบความผูกพันในครอบครัวของวัยรุ่น ก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือระยะที่ 1 นักเรียนจำนวน 1,000 คนซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เพื่อใช้เป็นตัวอย่างในการศึกษาองค์ประกอบของความผูกพันในครอบครัวของวัยรุ่น ระยะที่ 2 นักเรียนจำนวน 19 คนซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เพื่อใช้เป็นตัวอย่างการสร้างและพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรม ระยะที่ 3 นักเรียนจำนวน 16 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เพื่อเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความผูกพันในครอบครัวของวัยรุ่น ผลการศึกษาวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันในครอบครัวของวัยรุ่น ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบได้แก่ ความเข้าใจซึ่งกันและกัน, สัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว, กิจกรรมร่วมกัน, การเผชิญปัญหา, การเคารพตนเอง, เอกลักษณ์แห่งตน และวินัยของครอบครัว ซึ่งโมเดลมีความเหมาะสมพอดีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ในเกณฑ์สูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความผูกพันในครอบครัวของวัยรุ่น ประกอบด้วยกิจกรรม 9 กิจกรรม รวมระยะเวลา 13 ชั่วโมง 30 นาที (จำนวน 9 ครั้ง ครั้งละ 1.30 ชั่วโมง) โดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง โครงสร้างของโปรแกรมฝึกอบรมฯ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1. การประเมินก่อนการฝึกอบรม 2.การส่งเสริม 3.การประเมินหลังการฝึกอบรม 3. โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความผูกพันในครอบครัวของวัยรุ่น ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ภายในกลุ่มทดลอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และระหว่าง กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2504 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59010567003.pdf | 2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.