Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2529
Title: | The Effects of Health Belief Promotion Program Using Telenursing on Stroke Prevention Behaviors in Uncontrolled Hypertensive Patients ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพผ่านการพยาบาลทางไกลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ |
Authors: | Pattamaporn Chanaman ปัทมาพร ชนะมาร Apinya Wongpiriyayothar อภิญญา วงศ์พิริยโยธา Mahasarakham University Apinya Wongpiriyayothar อภิญญา วงศ์พิริยโยธา apinya.w@msu.ac.th apinya.w@msu.ac.th |
Keywords: | โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ การพยาบาลทางไกล พฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง Health Belief Promotion Telenursing Stroke Prevention Behaviors |
Issue Date: | 25 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The purposes of this experimental research were to examine the effects of health belief promotion program using telenursing on stroke prevention behaviors in uncontrolled hypertensive patients. The Rosenstock Health Belief Model and Telenursing concept of the Thailand Nursing and Midwifery Council were used as the framework of this study. The sample consisted of 30 uncontrolled hypertensive patients who were followed up at the hypertension outpatient clinic in the Wapipathum Hospital, Mahasarakram Province. The patients were chosen and assigned to the experimental and the control groups using a simple random sampling method, 15 patients each. The experimental group received the Health Belief Promotion Program Using Telenursing and the control group received a usual care from hospital. The instrument for collecting data was the Stroke Prevention Behaviors questionnaire, with reliability of .83. The statistics used for analyzing data were frequency, mean, standard deviation, independent t-test, and paired t-test.
The results of the study showed that after receiving the intervention, the experimental group had a mean score of stroke prevention behaviors statistically significantly higher than before the control group (p < .05, t =5.01) and higher than before receiving the program (p < .05, t =7.94)
In conclusion, results of this study indicate that Health Belief Promotion Program using Telenursing could help uncontrolled hypertensive patients improve stroke prevention behaviors. Therefore, health care การวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพผ่านการพยาบาลทางไกลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีความเชื่อด้านสุขภาพของโรเซนสต็อก (Rosenstock) และแนวคิดการพยาบาลทางไกลของสภาการพยาบาลของประเทศไทย เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย โดยศึกษาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ 30 คน ที่มารับการรักษา ณ คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างได้รับการคัดเลือกและสุ่มเข้าสู่กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน โดยวิธีสุ่มอย่างง่าย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพผ่านการพยาบาลทางไกล และกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent t-test และ Paired-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 5.01) และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t =7.94) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพผ่านการพยาบาลทางไกลช่วยส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ดังนั้นทีมสุขภาพควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในผู้ป่วยกลุ่มนี้เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองที่เหมาะสมต่อไป |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2529 |
Appears in Collections: | The Faculty of Nursing |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010485006.pdf | 5.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.