Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2624
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Chutima Phaopat | en |
dc.contributor | ชุติมา เผ่าแพทย์ | th |
dc.contributor.advisor | Smai Wannaudorn | en |
dc.contributor.advisor | สมัย วรรณอุดร | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2025-05-07T10:01:01Z | - |
dc.date.available | 2025-05-07T10:01:01Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 3/6/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2624 | - |
dc.description.abstract | The purposes of the research were to study the socialization in Thai language basic course textbooks Multifold language at secondary school level 1-6 according to The Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D. 2008). The data analysis was made under the socialization framework. The results showed that the socialization occurred in 2 types including: 1) Direct socialization as to be seen in the representatives of family groups, school, and religion as appearing in 4 characteristics including: discipline cultivating, roles and attitudes cultivating, expertise or skills cultivating, and cultivating in other areas and 2) Indirect socialization as to be seen in the representatives of a group of friends. careers, and media as appearing in 5 characteristics include: discipline cultivating, aspiration cultivating, roles and attitudes cultivating, expertise or skills cultivating, and cultivating in other areas. In addition, the multifold language in the socialization in Thai language basic course textbooks of the secondary school level 1-6 was found that there were a number of 3 levels of multifold language: 1) Word-level including: lexical selection, and the usage of modality, 2) Sentence-level include: using different sentence structures and the usage of rhetorical questions, and 3) Text-level include: reference, using rhetoric, the usage of figurative expression, using pre-existing beliefs, using diverse sounds and using speech acts. However, the Text-level is found at the most level of linguistic strategies for socialization. Moreover, this linguistic strategy appeared in a combination of several scripts. To emphasize socialization more prominently. So, textbooks played important roles as the instructional media of Thai Language subject as the tool for socializing the students to grow up as the complete human where the teachers were well capable of raising the characters or the events in the readings as the example for student socialization. | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อศึกษาการขัดเกลาทางสังคมและกลวิธีทางภาษาในการขัดเกลาทางสังคม ในหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จำนวน 6 เล่ม วิเคราะห์ด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพตามกรอบแนวคิดการขัดเกลาทางสังคมและแนวคิดกลวิธีทางภาษา ผลการวิจัยพบว่า การขัดเกลาทางสังคมเกิดขึ้น 2 ทาง ได้แก่ 1) การขัดเกลาทางตรง พบเห็นในตัวแทนกลุ่มครอบครัว โรงเรียน และศาสนา ปรากฏจำนวน 4 ลักษณะ ได้แก่ การปลูกฝังระเบียบวินัย การปลูกฝังบทบาทหน้าที่และทัศนคติ การปลูกฝังความชำนาญหรือทักษะ และการปลูกฝังในด้านอื่น ๆ และ 2) การขัดเกลาทางอ้อม พบเห็นในตัวแทนกลุ่มเพื่อน อาชีพ และสื่อมวลชน ปรากฏจำนวน 5 ลักษณะ ได้แก่ การปลูกฝังระเบียบวินัย การปลูกฝังความมุ่งหวัง การปลูกฝังบทบาทหน้าที่และทัศนคติ การปลูกฝังความชำนาญหรือทักษะ และการปลูกฝังในด้านอื่น ๆ ส่วนกลวิธีทางภาษาในการขัดเกลาทางสังคมในหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 พบว่ามีจำนวน 3 ระดับ คือ 1) กลวิธีทางภาษาระดับคำ ได้แก่ การเลือกใช้คำศัพท์ และการใช้คำแสดงทัศนภาวะ 2) กลวิธีทางภาษาระดับประโยค ได้แก่ การใช้โครงสร้างประโยคแบบต่าง ๆ และการใช้คำถามเชิงวาทศิลป์ และ 3) กลวิธีทางภาษาระดับข้อความ ได้แก่ การอ้างถึง การใช้วาทศิลป์ การใช้ความเปรียบ การใช้ความเชื่อที่มีอยู่ก่อน การใช้เสียงที่หลากหลาย และการใช้วัจนกรรม กลวิธีทางภาษาในการขัดเกลาทางสังคมที่พบมากที่สุดคือ กลวิธีทางภาษาระดับข้อความ ทั้งนี้กลวิธีทางภาษาดังกล่าวจะปรากฏในตัวบทร่วมกันหลายกลวิธี เพื่อเน้นย้ำการขัดเกลาทางสังคมให้เด่นชัดขึ้น หนังสือเรียนจึงมีบทบาทสำคัญในฐานะเป็นสื่อการสอนวิชาภาษาไทยและยังมีบทบาทในฐานะเป็นเครื่องมือช่วยในการขัดเกลาผู้เรียนให้เติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การขัดเกลาทางสังคม | th |
dc.subject | หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย | th |
dc.subject | กลวิธีทางภาษา | th |
dc.subject | Socialization | en |
dc.subject | Thai Language Basic Course Textbook | en |
dc.subject | Language Strategies | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Mother tongue | en |
dc.title | Socialization in Thai Language Textbooks at Secondary School Levels 1-6 | en |
dc.title | การขัดเกลาทางสังคมในหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Smai Wannaudorn | en |
dc.contributor.coadvisor | สมัย วรรณอุดร | th |
dc.contributor.emailadvisor | smai_007@hotmail.com | |
dc.contributor.emailcoadvisor | smai_007@hotmail.com | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Thai Language and Oriental Languages | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Humanities and Social Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62010182005.pdf | 3.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.