Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2693
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanchamon Seehapanyaen
dc.contributorกัญชมน สีหะปัญญาth
dc.contributor.advisorChoochart Wong-Anuchiten
dc.contributor.advisorชูชาติ วงศ์อนุชิตth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2025-05-07T11:10:47Z-
dc.date.available2025-05-07T11:10:47Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued2/5/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2693-
dc.description.abstractBackground: Behavioral Problems of children with Attention Deficit Hyperactivity Disorder (ADHD). It affects the daily life of children, family and society. It is considered a very important problem. Children with ADHD therefore with special healthcare needs. Parent Management Training (PMT) Program is considered a best-practice for treating childhood ADHD and suitable for use in training for parents to increase their skills in caring for ADHD children. Purpose: To compare mean scores of parents’ mental health, family relationships, positive parenting, and behaviors of children with ADHD between the experimental and control groups of parents after participating in a PMT Program.  Method: This quasi-experimental research used a pretest-posttest design. The parents of children with ADHD were randomly assigned to an experimental (n=25) or control group (n=25). The experimental group participated in the PMT program and usual care for 6 weeks; the control group received usual care only. In addition to demographic characteristics, four instruments were used to collect data: the 21-item Depression Anxiety Stress Scale 21 (DASS-21), the 10-item Family Relationship Questionnaire, the 16-item Positive Parenting Questionnaire, and the 10-item Modified IOWA Conners Rating Scale. Health outcomes of this study were (1) three individual mental health (stress, anxiety, and depression), (2) family relationship, (3) positive parenting, and (4) parents’ ratings of the behaviors of their children with ADHD. Descriptive statistics independent t-test, and paired t-test were used for data analysis. Results: After participating in the PMT program, the scores of parents’ three mental health (stress, anxiety, and depression) and parents’ ratings of behaviors of children with ADHD were significantly lower than parents in the control group (p < .05). The scores of family relationships and positive parenting in the experimental group were significantly higher than those in the control group (p < .05). Conclusion: The PMT Program is suitable for training parents’ skills and also results in reducing behavioral problems of children with ADHDen
dc.description.abstractความเป็นมา ปัญหาพฤติกรรมของเด็กสมาธิสั้น ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันของเด็ก ครอบครัวและสังคม ถือว่าเป็นปัญหาที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เด็กสมาธิสั้นจึงจำเป็นต้องได้รับการรักษาที่ถูกต้องและการดูแลเป็นพิเศษ โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ปกครองถือเป็นแนวทางปฏิบัติในการดูแลเด็กสมาธิสั้นและเหมาะสำหรับนำมาใช้ในการฝึกอบรมผู้ปกครองเพื่อเพิ่มทักษะในการดูแลเด็กสมาธิสั้น วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะสุขภาพจิต ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว การเลี้ยงดูเชิงบวกของผู้ปกครองและพฤติกรรมของเด็กสมาธิสั้น ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ปกครอง ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปกครองของเด็กสมาธิสั้นได้รับการสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง (25 คน) และกลุ่มควบคุมจำนวน (25 คน) โดยที่กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ปกครองร่วมกับการพยาบาลตามปกติเป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับเพียงการพยาบาลตามปกติ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินภาวะสุขภาพจิตของผู้ปกครอง (DASS-21) แบบประเมินความสัมพันธ์ภายในครอบครัว แบบประเมินการเลี้ยงดูเชิงบวกของผู้ปกครอง และแบบประเมินพฤติกรรมของเด็กสมาธิสั้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) Independent t-test และ Paired t-test ผลการวิจัย ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรม คะแนนภาวะสุขภาพจิต (ความเครียด วิตกกังวล และภาวะซึมเศร้า) ของผู้ปกครองและคะแนนพฤติกรรมของเด็กสมาธิสั้นในกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในขณะที่คะแนนความสัมพันธ์ภายในครอบครัวและคะแนนการเลี้ยงดูเชิงบวกของผู้ปกครองในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุป โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ปกครอง มีความเหมาะสำหรับนำมาใช้ในการฝึกอบรมทักษะผู้ปกครอง และยังส่งผลในด้านการลดพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของเด็กสมาธิสั้นอีกด้วยth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectเด็กสมาธิสั้น, การปรับพฤติกรรม, โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ปกครองth
dc.subjectADHD, Behavior Modification, Parent Management Trainingen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleThe Effect of a Parent Management Training Program on Parents’ Mental Health, Family Relationships, Positive Parenting, and Behaviors of Children with Attention Deficit Hyperactivity Disorderen
dc.titleผลของโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ปกครองต่อภาวะสุขภาพจิต ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว การเลี้ยงดูเชิงบวกของผู้ปกครอง และพฤติกรรมของเด็กสมาธิสั้นth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChoochart Wong-Anuchiten
dc.contributor.coadvisorชูชาติ วงศ์อนุชิตth
dc.contributor.emailadvisorChoochart.d@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorChoochart.d@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.description.degreenameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineวิชาการพยาบาลชุมชนและสุขภาพจิตen
dc.description.degreedisciplineวิชาการพยาบาลชุมชนและสุขภาพจิตth
Appears in Collections:The Faculty of Nursing

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010483001.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.