Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2728
Title: | Tung : Cultural Identity of Tai Lue for Creative Product Development ตุง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ |
Authors: | Nongnuch Klinpikul นงค์นุช กลิ่นพิกุล Metta Sirisuk เมตตา ศิริสุข Mahasarakham University Metta Sirisuk เมตตา ศิริสุข sakboworn.t@msu.ac.th sakboworn.t@msu.ac.th |
Keywords: | ตุง ไทลื้อ อัตลักษณ์วัฒนธรรม ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ Tung Tai Lue Cultural Identity Creative Product |
Issue Date: | 5 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | Tung: The Cultural Identity of Tai Lue for Creative Product Development Objective 1) To study Tung in the culture of the Tai Lue ethnic group in terms of patterns, materials, production, use, beliefs, and other related factors. 2) To analyse the identity of Tung Tai Lue by using it as a guide in creative product design and development, and 3) To develop creative products that are in line with consumer demand trends by adopting design guidelines from the Tung Tai Lue identity. The area of study is Chiang Kham District, Phayao Province. Data is collected by observing behaviours, participation, traditions, and rituals. In-depth interviews and product satisfaction assessments from product design and manufacturing experts Summarise qualitative data by descriptive analysis and summarise data from product satisfaction assessments by statistical data analysis.
The results showed that ethnic Tai Lue have spiritual beliefs and faith in Buddhism. Traditions and rituals that represent the identity of the Tai Lue people There is a transfer of knowledge and wisdom that cultivates such ideas from generation to generation. For the Tai Lue Tung people, it is a textile used in worship and rituals to express gratitude and dedicate charity and merit to those who have passed away or to themselves. Tung is a symbol of goodness and auspiciousness that conveys the story of the way of life. Faith and faith as well, thus making Tung Tai Lue that conveys the art of Tung weaving from weavers into beautiful patterns with identity. The pattern on the Tung land can be divided into 3 groups, namely the pattern from flora, the animal pattern, and the pattern of utensils, with the castle pattern as the president pattern. From the beauty of Tung Tai Lue, the identity of the pattern on the Tung land can be used as a guide to designing creative industrial products that are in line with the trends of today's consumers. งานวิจัยเรื่อง ตุง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาตุงในวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อด้านรูปแบบลวดลาย วัสดุ การผลิต การใช้งาน ความเชื่อและปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) เพื่อวิเคราะห์อัตลักษณ์ของตุงไทลื้อโดยใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ และ 3) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับแนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคโดยใช้แนวทางในการออกแบบจากอัตลักษณ์ตุงไทลื้อ โดยพื้นที่ในการศึกษาคืออำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา มีการเก็บข้อมูลโดยการสังเกตพฤติกรรม การมีส่วนร่วมประเพณีและพิธีกรรม การสัมภาษณ์เชิงลึกและการประเมินความพึงพอใจในรูปแบบผลิตภัณฑ์จากผู้เชี่ยวชาญทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และการผลิต สรุปผลข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เชิงพรรณาและสรุปผลข้อมูลจากการประเมินความพึงพอใจในรูปแบบผลิตภัณฑ์โดยการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่าชาติพันธุ์ไทลื้อมีความเชื่อเรื่องผีวิญาณและมีความศรัทธาในพุทธศาสนา ประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ ซึ่งแสดงถึงความเป็นตัวตนของชาวไทลื้อ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ทางภูมิปัญญาปลูกฝังความคิดดังกล่าวจากรุ่นสู่รุ่น สำหรับชาวไทลื้อตุงเป็นสิ่งทอที่ใช้ในการสักการะบูชาและการประกอบพิธีกรรม แสดงถึงความกตัญญูการอุทิศส่วนกุศลผลบุญไปสู่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วหรือให้กับตนเอง ตุงเป็นสัญลักษณ์ของความดีความเป็นสิริมงคลที่สื่อถึงเรื่องราววิถีชีวิตวามเป็นอยู่ ความเชื่อและความศรัทธาได้เป็นอย่างดีจึงทำให้ตุงไทลื้อที่มีการถ่ายทอดศิลปะการทอตุงจากช่างทอออกมาเป็นลวดลายที่สวยงามมีอัตลักษณ์ซึ่งสามารถแบ่งกลุ่มลวดลายบนผืนตุงออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มลายจากพรรณพฤกษา ลายสัตวและลายสิ่งของเครื่องใช้ที่มีลายปราสาทเป็นลายประธาน จากความงามบนผืนตุงไทลื้อนี้จึงสามารถนำอัตลักษณ์ทางลวดลายที่อยู่บนผืนตุงมาเป็นแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับแนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคในยุคปัจจุบันได้อย่างน่าสนใจ |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2728 |
Appears in Collections: | Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64012464001.pdf | 16.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.