Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2768
Title: | Developing Guidelines of the Chinese Language Instruction for Schools under the Secondary Educational Service Area Office 19 การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 |
Authors: | Jittranut Woradee จิตรานุช วรดี Thatchai Chittranun ธัชชัย จิตรนันท์ Mahasarakham University Thatchai Chittranun ธัชชัย จิตรนันท์ thatchai.c@msu.ac.th thatchai.c@msu.ac.th |
Keywords: | แนวทาง การจัดการเรียนการสอน ภาษาจีน Guidelines Instructional Management Chinese Language |
Issue Date: | 15 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The objectives of this research were to 1) Study the current state, desirable state, and the priority needs index (PNI modified) of Chinese language instructional of schools under the secondary educational service area office 19, and 2) Develop the Chinese language instruction guidelines of schools under the secondary educational service area office 19. The research’s population consisted of administrators and teachers totaling 154 persons and key informants consisted of administrators and teachers of model schools, totaling 3 persons and 5 experts. Research instruments were questionnaires, an interview form, and guidelines suitability and possibility assessment forms. Statistics used for data analysis included percentage, mean, standard deviation, and the priority needs index (PNI modified). The research results found that:
1. The current state of Chinese language instruction in schools under the secondary educational service area office 19 overall was at a high level, with the highest means being the Chinese language instruction component and the lowest means being the instructional media and learning resources of the Chinese language component. The desirable state of Chinese language instruction in schools under the secondary educational service area office 19 overall was at a high level, with the highest means being the Chinese language curriculum administration component, and the lowest means being the component of teachers and creating a collaborative network. The priority needs index was 0.185, when considering each component, it was found that the first priority needs index was the instructional media and learning resources of the Chinese language component, the second was teachers and creating a collaborative network component, the third was the Chinese language curriculum administration component, and the fourth was the Chinese language instruction component, respectively.
2. The Chinese language instruction guidelines of schools under the secondary educational service area office 19 consisted of 4 components 33 guidelines were component 1) Instructional media and learning resources of the Chinese language 7 guidelines, component 2) Teachers and creating a collaborative network 11 guidelines, component 3) Chinese language curriculum administration 7 guidelines, and component 4) Chinese language instruction 8 guidelines. The result of guidelines suitability assessed overall was at the highest level, and guidelines possibility assessed overall was at a high level. การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 และ 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร และครู จำนวนรวม 154 คน และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียนต้นแบบ รวม 3 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินความเหมาะสมและเป็นไปได้ของแนวทาง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนองค์ประกอบที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ภาษาจีน สภาพที่พึงประสงค์ ของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านการบริหารจัดการหลักสูตรภาษาจีน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนองค์ประกอบที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านครูผู้สอนและการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น โดยภาพรวมมีค่าเท่ากับ 0.185 เมื่อพิจารณารายองค์ประกอบ พบว่า องค์ประกอบมีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นสูงเป็นลำดับที่ 1 คือ ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ภาษาจีน ลำดับที่ 2 ด้านครูผู้สอนและการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ลำดับที่ 3 ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรภาษาจีน และลำดับที่ 4 ด้านการจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลภาษาจีน ตามลำดับ 2. ผลการพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 33 แนวทาง ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ด้านสื่อและแหล่งการเรียนรู้ภาษาจีน 7 แนวทาง องค์ประกอบที่ 2 ด้านครูผู้สอนและการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 11 แนวทาง องค์ประกอบที่ 3 ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรภาษาจีน 7 แนวทาง และองค์ประกอบที่ 4 ด้านการจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลภาษาจีน 8 แนวทาง โดยมีผลการประเมินความเหมาะสมของแนวทางโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการประเมินความเป็นไปได้ของแนวทางโดยรวม อยู่ในระดับมาก |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2768 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62010586079.pdf | 4.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.