Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2772
Title: | A Model for the Development of English for Communication
Management at the Primary Level of Private Schools รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน |
Authors: | Apinya Suwannarong อภิญญา สุวรรณรงค์ Tharinthorn Namwan ธรินธร นามวรรณ Mahasarakham University Tharinthorn Namwan ธรินธร นามวรรณ tharinthorn.n@msu.ac.th tharinthorn.n@msu.ac.th |
Keywords: | รูปแบบ การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนเอกชน Model English Communication Learning Management Primary Education Private Schools |
Issue Date: | 13 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This research aims to (1) study the current state, desired state, and essential needs of the English communication learning management development model for primary education in private schools; (2) develop an English communication learning management development model for primary education in private schools; (3) study the results of using the English communication learning management model for primary education in private schools; and (4) evaluate the English communication learning management development model for primary education in private schools The research methodology is under the Research and Development (R&D) process. with the methods of four phases as including ; Phase 1: Study the current state, desired state, and essential needs of the English communication learning management development model for primary education in private schools by investigating surveying the opinions of 174 participants. Phase 2: Develop the English communication learning management development model for primary education in private schools by interviewing schools with excellent performance in English communication learning management, synthesizing information, and verifying and validating through a focus group discussion with 9 experts. Phase 3: Study the results of using the English communication learning management model among primary school students in private schools for one semester. ; Phase 4: Evaluate the English communication learning management development model for primary education in private schools. through The target group including administrators, academic supervisors, and English teachers at Suan Son Khon Kaen School, under the Office of Private Education, Khon Kaen Provincial Education Office. The research tools used include questionnaires, evaluation forms, in-depth interview forms, and tests. The statistics used are percentage, mean, standard deviation, and the Modified Priority Needs Index (PNI modified).
Research Results are as following ;
1. The current state of the English communication learning management development model for primary education in private schools is at a high level, while the desired state is at the highest level. The needs for the development model, ranked from highest to lowest, are: English communication learning management, studying the current and desired states, and evaluating the English communication learning management.
2. The developed English communication learning management development model for primary education in private schools is the FSDLP Model, which consists of six components: (1) principles of the model, (2) objectives of the model, (3) content based on the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (Revised B.E. 2560), (4) process of the FSDLP Model, (5) assessment and evaluation, and (6) conditions for implementation.
3. The results of the development of the English communication learning management development model for primary education in private schools indicate that: (1) English teachers' reactions to the development of the model are at the highest level overall, (2) the average score of knowledge in English communication learning management before development was 12.00 (60.00%) and after development was 17.59 (87.95%).
4. The evaluation results of the developed English communication learning management development model for primary education in private schools show that it has high consistency, appropriateness, feasibility, and usefulness, with overall satisfaction at the highest level. การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน (2) พัฒนารูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน (3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน (4) ประเมินรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ซึ่งแบ่งวิธีวิจัยเป็น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน โดยสอบถามความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 174 คน ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน โดยการสัมภาษณ์โรงเรียนที่มีผลการดำเนินการที่เป็นเลิศด้านรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษา สังเคราะห์ข้อมูล ตรวจสอบและยืนยัน จากการประชุมสนทนากลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ระยะที่ 3 ศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน 1 ภาคเรียน ระยะที่ 4 ประเมินรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน กลุ่มเป้าหมายในการประเมินการใช้รูปแบบ ได้แก่ ผู้บริหาร หัวหน้างานวิชาการและครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียนสวนสนขอนแก่น สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน ศึกษาธิการจังหวัดขอนแก่น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบทดสอบ สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทคนิคModified Priority Needs Index (PNImodified) ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน ในสภาพปัจจุบันอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความต้องการจำเป็นของรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร, ด้านการศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และด้านการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2. รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน คือ FSDLP Model มี 6 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) เนื้อหาตามหลักสูตรแกนกลางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 4) กระบวนการของรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (FSDLP Model) 5) การวัดและประเมินผล 6) เงื่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ 3. ผลการใช้รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน พบว่า1) ครูภาษาอังกฤษมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อการพัฒนารูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) การประเมินความรู้การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารก่อนการพัฒนามีค่าเฉลี่ย 12.00 คิดเป็นร้อยละ 60.00 และหลังการพัฒนามีค่าเฉลี่ย 17.59 คิดเป็นร้อยละ 87.95 4. ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชนที่พัฒนาขึ้น พบว่า มีความสอดคล้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2772 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010562020.pdf | 13.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.