Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2773
Title: | Supervision Model to Developing of Competency in Organizing Experiences that Promote Life Skills for the Early Childhood of Teachers under the Office of the Basic Education Commission รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
Authors: | Tussanee Sedruksa ทัศนีย์ เศษรักษา Tharinthorn Namwan ธรินธร นามวรรณ Mahasarakham University Tharinthorn Namwan ธรินธร นามวรรณ tharinthorn.n@msu.ac.th tharinthorn.n@msu.ac.th |
Keywords: | รูปแบบการนิเทศ การจัดประสบการณ์ ทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัย สมรรถนะครูปฐมวัย Supervision Model Experiential Learning Life Skills among Early Childhood Students Competency of Early Childhood Teachers |
Issue Date: | 21 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This research aimed to: 1) investigate the components of supervision for development the organizing experiential activities that foster life skills among early childhood students particularly those taught by teachers under the Office of the Basic Education Commission; 2) examine the current state, desired state, and the needs of supervision model for teachers to develop experiential learning competency that promotes life skills in early childhood students; 3) enhance the supervision model for developing experiential learning competency, specifically focusing on promoting life skills among early childhood students taught by teachers under the Office of the Basic Education Commission; and 4) examine the results of implementation the model for developing experiential learning competency, specifically focusing on promoting life skills among early childhood students taught by teachers under the Office of the Basic Education Commission. The research is divided into 4 phrases. Phase 1: investigate the components and indicators, targeting a qualified group of 9 experts selected through purposive sampling. This selection is based on the appropriateness assessment using the components and indicators evaluation form. Phase 2: examine the needs of the supervision model, the sample group comprises 320 early childhood teachers, selected through multi-stage random sampling using a questionnaire with a 5-level Likert scale. Phase 3: develop the supervision model, the 9 qualified experts selected through purposive sampling examined the appropriateness of the supervision model. Phase 4: examine the results of the model implementation, the sample group comprises of 20 volunteer schools. The data were collected through questionnaires, interviews, assessments, and observations. Average, standard deviation and Priority Needs Index (PNImodified) were used to analyze the data.
The findings of the study revealed that there are 7 steps of development experiential learning that promotes life skills in early childhood student (PMOBIM Model); 1) Planning informing (P), 2) Meeting before observing (M), 3) Observing (O), 4) Building up relationship (B), 5) Implementing technology for education (I), 6) M: Meeting after observing (M), and 7) Management and evaluation (M). Overall, the proficiency level is rated as high with the results as follow;
1. There are 6 elements of model supervision for development the organizing experiential activities that foster life skills among early childhood students. There are 4 elements of experiential learning competency of teachers that promotes life skills in early childhood students. There are 4 elements of life skills in early childhood students. Overall, the proficiency level is rated as high.
2. The current state is rated as high level, and the desired state is also at a high level. When assessing the needs of the supervision model, it is found that the component with the highest need is component 1 - Analytical thinking. This is followed by component 2- Problem-solving, component 3 - Empathy, component 4 - Decision making, and component 5 - Communication, with the lowest index of essential needs respectively.
3. The results of enhancing the supervision model for teachers to develop experiential competency that promotes life skills in early childhood students reveal that the supervision models encompass 7 formats. These formats are deemed highly suitable, appropriate, and effective.
4. The results of implementation the model for developing experiential learning competency, specifically focusing on promoting life skills among early childhood students taught by teachers under the Office of the Basic Education Commission have high impacts to early childhood teachers because early childhood students participate the activity eagerly. The model is deemed highly suitable which rated in high level. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ความต้องการจำเป็นสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 4) เพื่อศึกษาผลการนำรูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ การวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของรูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบ ระยะที่ 2 ศึกษาความต้องการจำเป็นสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูปฐมวัย จำนวน 320 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ระยะที่ 3 การพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ จำนวน 9 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง และระยะที่ 4 การศึกษาผลการใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สมัครใจเข้าร่วม จำนวน 20 โรงเรียน เครื่องมือวิจัยที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมิน และแบบสังเกต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น (PNImodified) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการวิจัยพบว่า ขั้นตอนการพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ด้วยกระบวนการ PMOBIMM Model มี 7 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 P: Planning Informing ขั้นที่ 2 M: Meeting before observing ขั้นที่ 3 O: Observing ขั้นที่ 4 B: Building up relationship ขั้นที่ 5 I: Implementing technology for education ขั้นที่ 6 M: Meeting after observing (M) ขั้นที่ 7 M: Management and Evaluation โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 1. องค์ประกอบของการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) องค์ประกอบรูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู 6 องค์ประกอบ 2) สมรรถนะการจัดประสบการณ์ครูปฐมวัย 4 องค์ประกอบ 3) ทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัย 5 องค์ประกอบ มีความเหมาะสม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. สภาพปัจจุบันการพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมาก และความต้องการจำเป็นของรูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำแนกตามองค์ประกอบ พบว่า องค์ประกอบที่มีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นสูงที่สุด คือ องค์ประกอบที่ 1 ด้านการคิดวิเคราะห์ รองลงมา ได้แก่ องค์ประกอบที่ 2 ด้านการแก้ปัญหา องค์ประกอบที่ 3 ด้านความเห็นใจผู้อื่น องค์ประกอบที่ 4 ด้านการตัดสินใจ และองค์ประกอบที่ 5 ด้านการสื่อสาร มีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นต่ำที่สุด 3. ผลการพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ทั้ง 7 ขั้น มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด 4. ผลการใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของครู ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่พัฒนาขึ้นไปใช้ทดลองกับกลุ่มเป้าหมาย พบว่า สามารถนำมาใช้กับสถานศึกษาภายใต้บริบทและสถานการณ์การจัดประสบการณ์ของครูผู้สอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับเด็กปฐมวัยบรรลุผล มีผลการประเมินรูปแบบอยู่ในระดับมาก |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2773 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010562022.pdf | 17.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.