Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2794
Title: | The Curriculum Evaluation on Doctor of Philosophy Program in Curriculum and Instruction (Improvement Version 2021), Case Study of Foreign Students Faculty of Education Mahasarakham University การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) กรณีศึกษานิสิตต่างประเทศคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
Authors: | Chanatinat Tungtawee ชนาธินาถ ตั้งทวี Jiraporn Chano จิระพร ชะโน Mahasarakham University Jiraporn Chano จิระพร ชะโน jiraporn.j@msu.ac.th jiraporn.j@msu.ac.th |
Keywords: | การประเมินหลักสูตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน The Curriculum Evaluation Doctor of Philosophy Program Educational Curriculum and Instruction |
Issue Date: | 23 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The purpose of this research were to study the curriculum evaluation on Doctor of Philosophy Program in Curriculum and Instruction (improvement version 2021), Faculty of Education, Mahasarakham University by using the evaluation method; the CIPP Model, which is comprised of 4 components: Context, Input, Process and Product. The target groups consist of 5 faculty members responsible for the curriculum, course instructors, and 27 students. The research instruments included the questionnaire and interview form. The collect data were analyzed by using percentage (%), mean (), standard deviation (S.D.) and content analysis. The overall research findings reveal that the Doctor of Philosophy Program in Curriculum and Instruction (improvement version 2021), Faculty of Education, Mahasarakham University, has received positive assessments.
The results of the study were as follows :
1. The context of curriculum showed that appropriate in high level and the curriculum should be consistent with the educational needs of society and keep up with changes in innovation and technology. Due to the COVID-19 situation, online learning has become prevalent, resulting in missed opportunities for students and teachers to establish connections. Therefore, after the COVID-19 situation, efforts should be made to enhance learning opportunities and organize exchange activities for Chinese students and their advisors to collaborate.
2. The input factors of curriculum found that the overall were in high level and should prepare for fundamental adjustment and create an understanding of the learning system of the Doctor of Philosophy. Research process, supplementary instruction on English skills, critical thinking skills and based on knowledge theory and information search.
3. The process factors of curriculum found that the overall were in high level. The key recommendation is to align teaching methods with the course content according to the curriculum structure. It is advisable to adjust the foundations and enhance knowledge for students who did not graduate from the main curriculum, as well as for those who are not directly taught. This includes preparing and developing readiness, as well as improving English language proficiency for students, to enable them to publish academic work in international journals more effectively.
4. The product factors of curriculum found that the overall were in highest level. The key recommendation is for graduates to have confidence in their knowledge, skills related to the curriculum, and their teaching abilities. They should be able to apply the knowledge they have acquired in practical work and confidently transmit it to others in the workplace. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยใช้วิธีการประเมินในรูปแบบ CIPP Model มีองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนจำนวน 5 คน นิสิต จำนวน 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีผลการประเมินโดยภาพรวม ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ผลการประเมินด้านบริบท โดยภาพรวมและรายข้อมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีข้อเสนอแนะสำคัญคือ หลักสูตรควรมีความสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางนวัตกรรมและเทคโนโลยี เนื่องจากสถานการณ์โควิค 19 ทำให้มีการเรียนออนไลน์ จึงพลาดโอกาสในการสร้างเครือข่ายกันระหว่างนิสิต และอาจารย์ ดังนั้นหลังสถานการณ์โควิด 19 จึงควรเพิ่มโอกาสในการเรียน และจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนให้นิสิตชาวจีนและอาจารย์ที่ปรึกษาได้ทำร่วมกัน 2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนำเข้า โดยภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะสำคัญคือการเตรียมความพร้อมปรับพื้นฐานและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเรียนของดุษฎีบัณฑิต กระบวนการทำวิจัย การสอนเสริมเพิ่มเติม เกี่ยวกับทักษะภาษาอังกฤษ ทักษะการคิดวิเคราะห์และอ้างอิงจากทฤษฎีความรู้และการสืบค้นสารสนเทศ 3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ โดยภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะสำคัญคือการจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสมกับเนื้อหารายวิชา ตามโครงสร้างหลักสูตร ควรปรับพื้นฐานและเสริมความรู้ให้นักศึกษาที่ไม่ได้จบสาขาหลักสูตรและการสอนโดยตรง รวมถึงการเตรียมความพร้อมและพัฒนาภาษาอังกฤษให้นิสิต เพื่อให้นิสิตตีพิมพ์ผลงานวิชาการในวารสารระดับนานาชาติมากขึ้น 4. ผลการประเมินด้านผลผลิต โดยภาพรวมเห็นว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะสำคัญคือบัณฑิตมีความมั่นใจในความรู้ ความสามารถทางด้านหลักสูตรและการสอนของตนเอง สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนไปปฏิบัติ ในการทำงาน และสามารถถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่นได้อย่างมั่นใจ |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2794 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64010558001.pdf | 3.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.