Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2808
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSanit Arsathongen
dc.contributorสนิท อาษาธงth
dc.contributor.advisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.advisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2025-05-07T11:40:03Z-
dc.date.available2025-05-07T11:40:03Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued26/1/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2808-
dc.description.abstractThis research aims to 1) study the components and indicators of standardized educational management Sub-district Non-Formal and Informal Education for Excellence. 2) Study the current condition, desirable condition, and conditions of need for educational management according to Sub-district Non-Formal Education Standards for Excellence. 3) Design, create, and evaluate the educational management model according to Sub-district Non-Formal Education Standards for Excellence. 4) Study the results of using the standardized educational management model Sub-district NFE for excellence. The research divided into 4 phases: Phase 1 is the study of the components and indicators of standardized educational management Sub-district Non-Formal and Informal Education for Excellence. Check suitability to affirm the elements and indicators of educational management for synthetic excellence. By a qualified nine-person by purposive sampling. Phase 2 studies current conditions, desirable conditions, and conditions of need for the administration according to Sub-district NFE standards for excellence. The subjects used in the research were school administrators and heads of district educators 328 participants were randomly selected by stratified random sampling. Phase 3 design, creation, and evaluation of educational management model according to Sub-district Non-Formal Education Standards for Excellence. The study of 5 sub-districts selected a specific model of education management according to Sub-district NFE standards for excellence and verification and assessment of suitability feasibility usefulness of the model by a qualified person 9 participants were selected purposive sampling using expert-based seminar techniques. Phase 4 studies the results of using the educational management model according to the Sub-district NFE standards for excellence. The target group includes educational institution directors and Sub-district NFE heads under the Nongbualamphu Province Office of Non-Formal and Informal Education. That voluntarily participated in the development of 1 educational institution through purposive selection. The tools used in the research were records, questionnaires, assessments, tests, and supervision forms. The statistics used in the study are percentage, mean, and standard deviation. The research results found that: 1. Components and indicators of educational administration according to Sub-district Non-Formal and Informal Education standards for Excellence consist of 7 elements, 16 indicators, and results of suitability evaluation. Overall, it was at the highest level. 2. The overall current condition is at a high level. The overall desirable condition was at the highest level. Order of Needs Necessary for Standardized Educational Management Subdistrict NFE for excellence Needs are ranked in descending order as follows: No. 1 Outcome No. 2 Organizational leadership and strategic planning No. 3 Focus on learners and stakeholders No. 4 Measurement, analysis and knowledge management No. 5 Process management and No. 6 Personnel focus. 3. The Education management model according to Sub-district Non-Formal Education Standards for Excellence consists of Section 1: Principles and Concepts, Section 2: Objectives, Section 3: The implementation process consists of 7 aspects and 135 approaches, Section 4: Measurement and Evaluation, Section 5: Implementation, Conditions, Suitability assessment results Overall, suitability is at the highest level. The possibilities are at a high level, and the usefulness is at the highest level. 4. Assessment of outcomes according to the standard educational management model for excellence by experimenting with a standardized educational management model. Overall, pre-development is moderate. Post-development is at the highest level. Considering each aspect, the overall management aspect before development was average. The latter is at the highest level. In terms of organizing learning activities, overall, before development is medium. The latter is at the highest level. In terms of participation, overall, before development was moderate. The latter is at the highest level. Monitoring, evaluation, and reporting of results overall before development were temperate. The latter is at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และสภาพความต้องการจำเป็นการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ 3) เพื่อออกแบบ สร้าง และประเมินรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ 4) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ การวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ได้แก่ ศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ ตรวจสอบความเหมาะสม ยืนยันองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการบริหารจัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศที่สังเคราะห์ขึ้น โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และสภาพความต้องการจำเป็นการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และหัวหน้า กศน.ตำบล จำนวน 328 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ระยะที่ 3 การออกแบบ สร้าง และประเมินรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีเป็นเลิศ จำนวน 5 กศน.ตำบล โดยการเลือกแบบเจาะจง ยกร่างรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบลเพื่อความเป็นเลิศ และตรวจสอบยืนยัน ประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ของรูปแบบ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน เลือกแบบเจาะจง โดยใช้เทคนิคการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 4 ศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษาและหัวหน้า กศน.ตำบล ในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองบัวลำภู ที่สมัครใจเข้าร่วมพัฒนา จำนวน 1 สถานศึกษา โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึก แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบทดสอบ แบบนิเทศ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 16 ตัวบ่งชี้ ผลการประเมินความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. สภาพปัจจุบันโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ลำดับความต้องการจำเป็นในการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ ลำดับที่ 1 ผลลัพธ์ ลำดับที่ 2 การนำองค์กร และการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ลำดับที่ 3 การมุ่งเน้นผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ลำดับที่ 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ ลำดับที่ 5 การจัดการกระบวนการ และลำดับที่ 6 การมุ่งเน้นบุคลากร 3. รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 หลักการแนวคิด ส่วนที่ 2 วัตถุประสงค์ ส่วนที่ 3 กระบวนการดำเนินงาน ประกอบด้วย 7 ด้าน 135 แนวทาง ส่วนที่ 4 การวัดและประเมินผล ส่วนที่ 5 เงื่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ ผลการประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ โดยภาพรวมความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด 4. การประเมินผลลัพธ์ตามรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ จากการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศ โดยภาพรวมก่อนการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง และหลังการพัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการบริหารจัดการ โดยรวมก่อนการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง หลังการพัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยรวมก่อนการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง หลังการพัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านการมีส่วนร่วม โดยรวมก่อนการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง หลังการพัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านการติดตาม ประเมินผล และรายงานผล โดยรวมก่อนการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง หลังการพัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectรูปแบบth
dc.subjectการบริหารจัดการศึกษาth
dc.subjectความเป็นเลิศth
dc.subjectFormaten
dc.subjectEducational Administrationen
dc.subjectExcellenceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleStandards-based Educational Administration Model Sub District Non-Formal and Informal Education Centre for Excellenceen
dc.titleรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐาน กศน.ตำบล เพื่อความเป็นเลิศth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.coadvisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.emailadvisorsuwat.j@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsuwat.j@msu.ac.th
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010561012.pdf16.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.