Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2839
Title: | Development of problem-based leaning activities combined with concept mapping techniques. To promte analytical thinking abilty and science achievement of Mathayomsuksa 5 student. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคแผนผังมโนทัศน์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 |
Authors: | Duanghathai Phosrikham ดวงหทัย โพธิ์ศรีขาม Yada Thadanatthaphak ญดา ธาดาณัฐภักดิ์ Mahasarakham University Yada Thadanatthaphak ญดา ธาดาณัฐภักดิ์ thanarat.s@msu.ac.th thanarat.s@msu.ac.th |
Keywords: | การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน, เทคนิคแผนผังมโนทัศน์, การคิดวิเคราะห์, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, วิทยาศาสตร์ Problem-Based Learning management Concept mapping techniques analytical-thinking Learning achievement science |
Issue Date: | 24 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The purposes of this study were to 1) To develop problem-based learning activities combined with concept mapping techniques. To promote analytical thinking ability and science achievement of Mathayomsuksa 5 students to be effective at 70/70. 2) To compare the analytical thinking ability of Mathayomsuksa 5 students. After studying with problem-based learning activities combined with concept mapping techniques with a criterion of 70 percent. 3) To compare the science achievement of Mathayom 5 students. After studying with problem-based learning activities combined with concept mapping techniques with a criterion of 70 percent. The sample group consisted of 38 Mathayomsuksa 5/6 students at Sarakhampittayakhom School Under the Office of the Basic Education Commission, MahaSarakham Educational Service Area 1, Semester 2, academic year 2023. Obtained from random sampling (Cluster Random Sampling) by drawing lots. The research tools were: 1) 8 problem-based learning plans combined with concept mapping techniques, 12 hours of class time, 2) analytical thinking ability test. It is a subjective, group-based test with 2 questions. 3) Science achievement test. The criterion-based test is a multiple-choice, 4- option, 30- question answer. The statistics used for analyzing data were percentage, mean, standard deviation and t-test. (One simples t-test)
The results of the study were as follows:
1. Learning management plan created by the researcher. By organizing problem-based learning activities together with concept mapping techniques. To promote analytical thinking ability and science achievement of Mathayomsuksa 5 students, the efficiency was 78.74/82.98, which was higher than the criteria that the researcher had set.
2. The analytical thinking ability of Mathayomsuksa 5 students after studying with problem-based learning activities combined with concept mapping techniques had an average score of 2.62, calculated as 87.43 percent, and when compared with the criteria, it was found that the analytical thinking ability is significantly higher than the criteria at the .05 level.
3. Science achievement of Mathayomsuksa 5 students after studying with problem-based learning activities combined with concept mapping techniques had an average score of 24.89, accounting for 82.98 percent, which meets the criteria of 70 percent. การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคแผนผังมโนทัศน์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพ 70/70 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคแผนผังมโนทัศน์กับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคแผนผังมโนทัศน์กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 จำนวน 38 คน โรงเรียนสารคามพิทยาคม สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยวิธีจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคแผนผังมโนทัศน์ จำนวน 8 แผน เวลาเรียน 12 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ โดยเป็นแบบอัตนัยทดสอบอิงกลุ่ม จำนวน 2 ข้อ 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ โดยทดสอบอิงเกณฑ์เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบที (One simples t-test) ผลการวิจัย ปรากฏดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคแผนผังมโนทัศน์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพเท่ากับ 78.74/82.98 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ผู้วิจัยได้ตั้งไว้ 2. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคแผนผังมโนทัศน์มีคะแนนเฉลี่ย 2.62 คิดเป็นร้อยละ 87.43 และเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ พบว่า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคแผนผังมโนทัศน์มีคะแนนเฉลี่ย 24.89 คิดเป็นร้อยละ 82.98 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ 70 |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2839 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65010552006.pdf | 8.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.