Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2849
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Siriphit Chomsriharat | en |
dc.contributor | ศิริพิชญ์ ชมศรีหาราช | th |
dc.contributor.advisor | Titiworada Polyiem | en |
dc.contributor.advisor | ฐิติวรดา พลเยี่ยม | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2025-05-07T11:40:07Z | - |
dc.date.available | 2025-05-07T11:40:07Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 13/5/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2849 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research is To develop the ability to think and solve problems Using problem-based learning management together with the technique of using upward questions To pass the criteria of 70 percent, the target group is 19 Mathayom 5 students who are studying in biology subject, semester 2, academic year 2023, Kalasin Pittayasan School. Tools used in the research: 1) Problem-based learning management plan. together with the technique of using upward questions, 9 plans, time 15 hours, 2) a test to measure subjective problem-solving ability, 3 sets, 5 situations per set, 3) behavioral observation form, student problem-solving ability 4 ) Interview form for student opinions after receiving learning management This research used an action research design. There are 3 action cycles consisting of Action Cycle 1 using learning management plans 1-3. Action Cycle 2 using learning management plans 4-6. Action Cycle 3 using learning management plans 7-9. Data analysis by Using basic statistics including percentage, mean, and standard deviation. and presenting qualitative data through descriptive analysis. The research results found that Action cycle 1 The combination of problem-based learning management and the use of upward questions led to higher scores in students' ability to think and solve problems, accounting for 75.13 percent of the observational data. The identified issues were that students were not confident in their answers, hesitated to express their opinions or explanations, and still did not fully understand the problems. Action cycle 2 from problem-based learning management together with the technique of using upward questions It was found that students had higher scores on their ability to think and solve problems. It is improved by providing reinforcement such as quiz competitions between groups. to get a prize and exchange of ideas within the group As a result, students' ability to think and solve problems increases. Accounted for 83.22 percent of observation data. The students were very enthusiastic in answering the questions. Dare to express your opinions more Action cycle 3 from problem-based learning management together with the technique of using upward questions It was found that students had higher scores on their ability to think and solve problems. Students have scores on their ability to think and solve problems. It was 79.84 percent, which decreased from the second operating cycle but was still higher than the second operating cycle. 1 from observation data The students were very enthusiastic about answering the questions. Dare to express your opinions more The problem found is Students are confused about identifying problems and finding the cause of problems. May need to be improved by bringing in techniques to help. drawing diagrams So that students can prioritize problems. and can see the problem more clearly as a result, students' problem-solving abilities tend to be higher. Summary of problem-based learning management together with the technique of using upward questions Can develop students' problem-solving ability. However, there must be training for students to think, practice solving problems, and find the causes of problems that occur. Techniques may be introduced to help students solve problems better, such as diagram drawing techniques. Let's help students prioritize problems. To leads to problem identification and finding the root cause of the problem that is most relevant to the problem situation and can also be adapted to suit the student's situation. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา โดยใช้การจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามขึ้นสูง ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 19 คน ที่กำลังศึกษาในรายวิชาชีววิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนกาฬสินธ์ุพิทยาสรรพ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามขึ้นสูง จำนวน 9 แผน เวลา 15 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา แบบอัตนัย จำนวน 3 ชุด ชุดละ 5 สถานการณ์ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน 4) แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งมีวงจรปฏิบัติการ 3 วงจร ประกอบด้วย วงจรปฏิบัติการที่ 1 ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-3 วงจรปฏิบัติการที่ 2 ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4-6 วงจรปฏิบัติการที่ 3 ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7-9 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า วงจรปฏิบัติการที่ 1 จากการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามขึ้นสูง พบว่านักเรียนมีคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหา คิดเป็นร้อยละ 75.13 จากข้อมูลการสังเกต ปัญหาที่พบคือ นักเรียนไม่มั่นใจในคำตอบ ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น หรืออธิบาย นักเรียนยังไม่เข้าใจในปัญหา วงจรปฏิบัติการที่ 2 จากการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามขึ้นสูง พบว่านักเรียนมีคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหา มีการปรับปรุงโดยให้การเสริมแรง เช่น การแข่งขันตอบคำถามระหว่างกลุ่ม เพื่อได้รางวัล และเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดกันภายในกลุ่ม ทำให้นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 83.22 จากข้อมูลการสังเกต นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการตอบคำถาม กล้าแสดงความคิดเห็นมากขึ้น วงจรปฏิบัติการที่ 3 จากการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามขึ้นสูง พบว่านักเรียนมีคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหา นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหา คิดเป็นร้อยละ 79.84 ซึ่งลดลงจากวงจรปฏิบัติการที่ 2 แต่ก็ยังสูงกว่าวงจรปฏิบัติการที่ 1จากข้อมูลการสังเกต นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการตอบคำถาม กล้าแสดงความคิดเห็นมากขึ้น ปัญหาที่พบคือ นักเรียนยังสับสนในการระบุปัญหาและการหาสาเหตุของปัญหา อาจต้องปรับปรุงโดยการนำเทคนิคเข้ามาช่วยคือ การเขียนแผนผัง เพื่อให้นักเรียนสามารถจัดลำดับความสำคัญของปัญหา และสามารถมองเห็นปัญหาได้ชัดเจนมากขึ้น และส่งผลให้ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนมีแนวโน้มที่สูงขึ้น สรุปการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามขึ้นสูง สามารถพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนได้เพิ่มขึ้น แต่ก็ต้องมีการฝึกให้นักเรียนคิด ฝึกแก้ปัญหา และหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น โดยอาจนำเทคนิคเข้ามาช่วยเสริมให้นักเรียนแก้ปัญหาได้ดีขึ้น เช่น เทคนิคการเขียนแผนผัง มาช่วยให้นักเรียนจัดลำดับความสำคัญของปัญหา เพื่อนำไปสู่การระบุปัญหา และหาสาเหตุของปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัญหามากที่สุด และยังสามารถนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ของนักเรียนต่อไปได้ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา | th |
dc.subject | เทคนิคการใช้คำถามขึ้นสูง | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน | th |
dc.subject | High-order thinking | en |
dc.subject | Problem solving thinking | en |
dc.subject | Problem based learning | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | The development of problem-solving thinking ability of Mathayomsuksa-5 student unit by using Problem-based learning with higher-ordered thinking techniques | en |
dc.title | การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามขั้นสูง | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Titiworada Polyiem | en |
dc.contributor.coadvisor | ฐิติวรดา พลเยี่ยม | th |
dc.contributor.emailadvisor | titiworada.p@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | titiworada.p@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Curriculum and Instruction | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาหลักสูตรและการสอน | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65010554011.pdf | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.