Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2860
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChanikan Tumtumaen
dc.contributorชนิกานต์ ทุมทุมาth
dc.contributor.advisorPacharawit Chansirisiraen
dc.contributor.advisorพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิรth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2025-05-07T11:40:08Z-
dc.date.available2025-05-07T11:40:08Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued7/5/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2860-
dc.description.abstractThis research was aimed 1) to study a current condition, a desirable condition, and the need for the curriculum administration under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 and 2) to develop the guidelines for the curriculum administration under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1. For the method of the study, mixed methods research was performed in 2 phases as follows. Phase 1: The current condition, the desirable condition, and the need for the curriculum administration under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 were studied. The sample group consisted of 202 people, using the Krejcie and Morgan to determine the size and chosen by stratified random sampling. The research tools were a questionnaire. The statistics used in data analysis were index of index of item objective congruence, index of discrimination, reliability, percentage, mean, standard deviation, and PNI modified. Phase 2: The development of the guidelines for the effective curriculum administration under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 was studied by interviewing 3 best-practice schools chosen by purposive sampling. The research tools were the structured interview form, and suitability and feasibility evaluation scale which were evaluated by 7 specialists. The statistics used in the quantitative data analysis were percentage, mean and standard deviation. The results were as follows:                1. The current condition for the curriculum administration under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 was overall at high level. The desirable condition for the curriculum administration under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 was overall at utmost level. The needs for the curriculum administration under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 ordered in descending, namely, school curriculum creation, preparation, curriculum used conduction and supervision and assessment.                2. The guidelines for the effective curriculum administration under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 consisted of 4 aspects and 33 guidelines, namely, school curriculum preparation 10 guidelines, curriculum creation 8 guidelines, curriculum used creation 6 guidelines, supervision and assessment 9 guidelines. The guidelines were determined by studying the regulations of effective curriculum administration from 3 best-practice schools and using PDCA cycle in order to benefit the schools under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 in moving forward effective curriculum administration.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 2) เพื่อเสนอแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิผลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ดำเนินการเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1  กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 202 คน โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง และใช้เทคนิคการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 เพื่อเสนอแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิผลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 จากการศึกษาสถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 แห่ง โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง ซึ่งประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า                1. สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยเรียงลำดับค่าความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการเตรียมความพร้อม ด้านการดำเนินการใช้หลักสูตร และด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล ตามลำดับ                2. ผลการพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิผลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 มีองค์ประกอบ 4 ด้าน 33 แนวทาง ได้แก่ ด้านการเตรียมความพร้อม จำนวน 10 แนวทาง ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา จำนวน 8 แนวทาง ด้านการดำเนินการใช้หลักสูตร จำนวน 6 แนวทาง และด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล จำนวน 9 แนวทาง ใช้แนวคิดที่การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิผลจากการศึกษาสถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เป็นแนวทางในการปฏิบัติ และหลักการบริหารงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) เป็นตัวขับเคลื่อน เพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 นำไปวางแผนในการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาให้มีประสิทธิผลต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแนวทางth
dc.subjectการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาth
dc.subjectประสิทธิผลth
dc.subjectguidelinesen
dc.subjectcurriculum administrationen
dc.subjecteffectivenessen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe Guidelines for the Effective Curriculum Administration Under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิผลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPacharawit Chansirisiraen
dc.contributor.coadvisorพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิรth
dc.contributor.emailadvisorwittaya.c@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorwittaya.c@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65010581016.pdf7.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.