Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2862
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanachok Boonnamen
dc.contributorธนาโชค บุญนำth
dc.contributor.advisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.advisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2025-05-07T11:40:09Z-
dc.date.available2025-05-07T11:40:09Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued26/4/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2862-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to: 1) study current conditions; Desirable conditions and necessities of STEM learning management To create a teacher development program in STEM learning management of teachers under the Yasothon Elementary Education Area Office District 1 is a hybrid research. The research is divided into 2 phases. Desirable conditions and needs of STEM learning for teachers under the Yasothon Primary Education Area Office District 1. Primary schools under the Yasothon Primary Education Area Office District 1 for the academic year 2023, a total of 297 students, determined the size of the sample by opening the krejcie & morgan table by sampling the stratum by district group of the school and calculating the number of samples according to the proportion of the population in each grade of the school. The tools used in the research were the Phase 2 questionnaire, the development of a program to strengthen STEM learning management for teachers under the Yasothon Primary Education Area Office District 1, by interviewing teachers with recognized best practices, exemplary best practices in STEM learning management, and excellent results in STEM learning management. A program to strengthen STEM learning management for teachers under the office of Yasothon Primary Education Area District 1 by 5 experts. The statistics used to analyze the data are percentage, mean, and standard deviation. The results showed that: 1. The current state of STEM learning management for teachers under Yasothon Primary Education Area Office District 1 is overall moderate. Solution or workpiece results The desirable conditions for STEM learning for teachers under Yasothon Primary Education Area Office District 1 as a whole are at the highest level. The areas with the highest averages were design and problem solving, and the need for STEM learning for teachers under the Yasothon Primary Education Area Office District 1 in descending order of need: No. 1 for problem identification, No. 2 for gathering information and ideas related to problems. No. 3 Design and Solution No. 4 Problem Solving Planning and Implementation No. 5 Testing, Evaluating and Improving and No. 6, presenting a solution. Solution or workpiece results. 2. The development of a STEM program for teachers under the Yasothon Primary Education Area Office District 1 has 6 components, totaling 19 items. For teachers affiliated with the Yasothon Elementary School District 1 office, it was found to be the most suitable overall. The average is 4.62 and is the most likely. It has an average of 4.46.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1  และ 2) เพื่อสร้างโปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1  เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา สำหรับครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 ผู้ให้ข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง  ได้แก่  ครูผู้สอน โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 ปีการศึกษา 2565 รวมจำนวน 297 คนได้กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยการเปิดตารางเคจซีมอร์แกน โดยสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ จำแนกตามกลุ่มอำเภอของสถานศึกษา แล้วนำมาคำนวณหาจำนวนกลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนของประชากรในแต่ละชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 โดยการสัมภาษณ์ครูผู้สอน ที่มีแนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศที่เป็นที่ยอมรับ เป็นแบบอย่างวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาและมีผลงานด้านการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษายอดเยี่ยม จำนวน 3 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงเพื่อใช้เป็นโปรแกรมยกร่างและประเมิน โปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของแนวทาง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การนำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา สำหรับครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการออกแบบและวิธีการแก้ปัญหา และความต้องการจำเป็น การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1  เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ลำดับที่ 1 ด้านการระบุปัญหา ลำดับที่ 2 ด้านการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ลำดับที่ 3 ด้านการออกแบบและวิธีการแก้ปัญหา ลำดับที่ 4 การวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ลำดับที่ 5 ด้านการทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข แก้ปัญหาหรือชิ้นงาน และลำดับที่ 6 การนำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน 2. การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1  มีองค์ประกอบ 6 ด้าน ได้แก่ 1) หลักการ 2) เป้าหมายและวัตถุประสงค์ 3) โครงสร้างและเนื้อหา ประกอบด้วย 6 โมดูล 9 ตัวบ่งชี้ 19 ตัวชี้วัด 4) รูปแบบวิธีการและแนวทางการจัดกิจกรรม 5) เทคนิคและเครื่องมือ 6) การประเมินผล มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้เพื่อโปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา สำหรับครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1  พบว่าโดยรวมมีความเหมาะสมมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.62 และมีความเป็นไปได้มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาth
dc.subjectโปรแกรมth
dc.subjectการพัฒนาth
dc.subjectSTEM Learning Managementen
dc.subjectProgrammingen
dc.subjectDevelopmenten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe Development of a Program Learning Management in STEM Education for Teacher in Primary School Approach under Yasothon Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา สำหรับครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.coadvisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.emailadvisorKarn.r@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorKarn.r@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65010581026.pdf8.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.