Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2869
Title: The Development of Montessori-based Teaching Enhancement Program for Early Childhood Teachers Bueng Kan Primary Educational Service Area
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตสซอรี่เป็นฐานของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ
Authors: Rungthiva Janpun
รุ่งทิวา จันทร์ปุ่น
Karn Ruangmontri
กาญจน์ เรืองมนตรี
Mahasarakham University
Karn Ruangmontri
กาญจน์ เรืองมนตรี
Karn.r@msu.ac.th
Karn.r@msu.ac.th
Keywords: การพัฒนาโปรแกรม
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้มอนเตสซอรี่
Program Development
Montessori-based Teaching
Issue Date:  27
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The objectives of this research are 1) to study the early childhood teachers’ current state, desired state, and needs of Montessori-based teaching in Bueng Kan Primary Educational Service Area and 2) to design and develop the Montessori-based teaching enhancement program for the early childhood teachers. There were 2 phases in this research. The first phase was to study the early childhood teachers’ current state, desired state, and needs of Montessori-based teaching in Bueng Kan Primary Educational Service Area. The 118 representative samples consisted of school administrators, teacher mentors, educational personnel and early childhood teachers in schools with Montessori-based teaching. The academic year was 2566. The samples were derived by stratified sampling method and the district areas were used as the strata. The research instrument was questionnaire, interview, and the evaluation form of the program. Data was analyzed by using the ready-made program and statistic: percent, mean, and standard deviation. The second phase was to design and develop the Montessori-based teaching enhancement program for the early childhood teachers in Bueng Kan Primary Educational Service Area. The results of the research were as follows: 1. The overall level of current state of Montessori-based teaching of early childhood teachers in Bueng Kan Primary Educational Service Area was high. The characteristics of Montessori teacher was at the highest level. And The overall level of desired state of Montessori-based teaching of early childhood teachers in Bueng Kan Primary Educational Service Area was highest. The skills of Montessori teacher was at the highest level. 2. The evaluation of the Montessori-based teaching enhancement program for early childhood teachers in Bueng Kan Primary Educational Service Area revealed that the overall suitability of the program was at a high level. The possibility was at the highest level. The accuracy was at a high level. And the usefulness was at a high level.
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตสซอรี่เป็นฐานของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ 2) เพื่อสร้างและประเมินโปรแกรมเสริมสร้างการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตสซอรี่เป็นฐานของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ การศึกษาครั้งนี้แบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตสซอรี่เป็นฐานของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง บุคลากรและครูปฐมวัยในโรงเรียนที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตส ซอรี่เป็นฐาน จำนวน 118 คน ปีการศึกษา 2566 ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) โดยให้เขตอำเภอเป็นชั้นภูมิในการสุ่มให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินโปรกรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 การออกแบบและพัฒนาแนวทางส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตสซอรี่เป็นฐานของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. สภาพปัจจุบันในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตสซอรี่เป็นฐานของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยรวมอยู่ในระดับมาก องค์ประกอบด้านคุณลักษณะของครูมอนเตสซอรี่ มีค่ามากที่สุด สภาพที่พึงประสงค์ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตสซอรี่เป็นฐานของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด องค์ประกอบด้านคุณทักษะของครูมอนเตสซอรี่ มีค่ามากที่สุด และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตสซอรี่เป็นฐานของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ทักษะของครูมอนเตสซอรี่ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีมอนเตสซอรี่ และคุณลักษณะของครูมอนเตสซอรี่ ตามลำดับ 2. โปรแกรมเสริมสร้างการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้มอนเตสซอรี่เป็นฐานของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ได้โปรแกรม 3 โมดูล โมดูล 1 ความรู้ความเข้าเกี่ยวกับทฤษฎีมอนเตสซอรี่ โมดูล 2 ทักษะของครูมอนเตสซอรี่และคุณลักษณะมอนเตสซอรี่ และโมดูล 3 การนำไปใช้ ซึ่งองค์ประกอบของโปรแกรมมี 5 องค์ประกอบได้แก่ หลักการและความสำคัญ วัตถุประสงค์ เนื้อหา กระบวนการและกิจกรรม การวัดและประเมินผล มีผลการประเมินความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับ มาก ความเป็นไปได้อยู่ในระดับ มากที่สุด
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2869
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65010581045.pdf6.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.