Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/289
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSarawut Duangbaoen
dc.contributorศราวุฒิ  ด้วงเบ้าth
dc.contributor.advisorRatchaneewan Tangpakdeeen
dc.contributor.advisorรัชนีวรรณ ตั้งภักดีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T06:39:47Z-
dc.date.available2019-10-02T06:39:47Z-
dc.date.issued4/9/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/289-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstract The objectives of this study were 1) to study the conditions and needs of the executives, the persons who responsible for learning physical environment and the users of provincial public libraries under the Office of the Non-Formal and Informal Education in the Northeastern Region, 2) to create the physical environment that is conducive to learning for provincial public libraries, 3) to study the experts’ opinions on physical environment management that supports learning in provincial public libraries, and 4) to certify and propose the learning physical environment management model for provincial public libraries. The sample groups used in this study consisted of 1) relevant personnel and users of provincial public libraries under the Office of the Non-Formal and Informal Education in the Northeastern Region (198 people, 11 provinces), 2) the experts in learning physical environment management, library system management and the executives or the operators of provincial public libraries under the Office of the Non-Formal and Informal Education (16 people in total), and 3) the professionals in technology and educational communication, information science and the executives including with the heads of provincial public libraries under the Office of the Non-Formal and Informal Education (6 people in total). The research tools used in this study were the questionnaire on conditions and needs for the improvement of learning physical environment of the provincial public library, the questionnaire on experts’ opinions about the draft of learning physical environment model of the provincial public library and the certificate form of learning physical environment model of the provincial public library. The statistics applied in data analysis were frequency, percentage, mean and standard deviation. The needs assessment was implemented by using PNImodified technique. From the research results, it was found that The relevant personnel’s opinions on the learning physical environment of theprovincial public library were at high level (X = 4.23, S.D. = 1.37). The needs for the improvement of the physical environment of the provincial public library were at low level (X= 1.78, S.D. = 0.92), and the needs to improve the learning physical environment of the public library had the PNImodified index value between -0.64 to -0.47. (the average index value was -0.56. 2. The experts’ opinions on the draft of learning physical environment model of the provincial public library were the most appropriate (X= 4.65, S.D. = 0.58). 3.The model of learning physical environment of the provincial public library had been certified by the professionals that the appropriateness of the model was at high level (X= 4.31, S.D. = 1.03). 4. The physical environment that facilitated learning for the provincial public library should consist of 11 areas which were 1) circulation service area, 2) working area of information resource cataloging technique, 3) administration and documentation working area, 4) information resource storage area, 5) reading area, 6) children and youth area, 7) specific group learning area, 8) computer and video media service area, 9) exhibition and learning support area, 10) relaxation area and 11) water closet(WC) area.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 4 เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและความต้องการของผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และผู้ใช้บริการห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  2) สร้างรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด 3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อร่างรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด และ 4) เพื่อรับรองและนำเสนอรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ 1) ผู้ที่เกี่ยวข้อง และผู้ใช้บริการห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 198 คน ประกอบด้วย 11 จังหวัด 2) ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ด้านการจัดระบบงานห้องสมุด และผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติการห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมจำนวน 16 คน 3) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ด้านสารสนเทศศาสตร์ และผู้บริหาร หัวหน้างานห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมจำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามสภาพและความต้องการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด แบบสอบถามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อร่างรูปแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้องสมุดประชาชน และแบบรับรองรูปแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้องสมุดประชาชน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความต้องการจำเป็นด้วยการใช้เทคนิค (PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง มีความคิดเห็นต่อสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัดอยู่ในระดับมาก (X= 4.23, S.D. = 1.37) มีความต้องการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด อยู่ในระดับน้อย (X= 1.78, S.D. = 0.92) และความต้องการจำเป็นในการปรังปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้องสมุดประชาชนมีค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำ (PNImodified) เป็นอยู่ที่ระหว่าง -0.64 ถึง -0.47 โดยภาพรวมเฉลี่ยอยู่ที่ -0.56 2. ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นต่อร่างรูปแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัดมีความเหมาะสมมากที่สุด (X= 4.65, S.D. = 0.58) 3. ผู้ทรงคุณวุฒิรับรองว่ารูปแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้องสมุดประชาชนมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X = 4.31, S.D. = 1.03) 4. รูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด ควรประกอบด้วย 11 พื้นที่ ได้แก่ 1) พื้นที่ยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศ 2) พื้นที่ปฏิบัติงานด้านเทคนิคการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ 3) พื้นที่ปฏิบัติงานธุรการและงานเอกสาร 4) พื้นที่จัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ 5) พื้นที่สำหรับอ่าน 6) พื้นที่สำหรับเด็กและเยาวชน 7) พื้นที่เรียนรู้เฉพาะกลุ่ม 8) พื้นที่ให้บริการคอมพิวเตอร์และสื่อวีดิทัศน์ 9) พื้นที่จัดแสดงนิทรรศการแสดงผลงานและส่งเสริมการเรียนรู้ 10) พื้นที่สำหรับพักผ่อน และ 11) พื้นที่ห้องสุขาth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้th
dc.subjectสภาพแวดล้อมทางกายภาพth
dc.subjectห้องสมุดประชาชนth
dc.subjectlearning environment designen
dc.subjectphysical environmenten
dc.subjectprovincial public librariesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleA proposed model for organizing a learning physical environment for the province public library, The office non-formal education in provincial and formal and Informal education of the north east.en
dc.titleการนำเสนอรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัด สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56010581031.pdf11.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.