Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/310
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNanthiya Chindariten
dc.contributorนันทิยา จินดาฤทธิ์th
dc.contributor.advisorManit Asanoken
dc.contributor.advisorมานิตย์ อาษานอกth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T06:48:58Z-
dc.date.available2019-10-02T06:48:58Z-
dc.date.issued21/1/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/310-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis study aimed to 1) develop brain based learning instruction plans for kindergartner level two students to the effectiveness criterion 75/75, 2) compare the scientific readiness of kindergartner level two students whose has learning experience by brain based learning during before learning and after learning, and  3) compare the emotional intelligence of kindergartner level two students whose has learning experience by brain based learning during before learning and after learning, The sample group were 16 kindergartner level two students Pracharatrangsan School, Thung Khao Luang group under the office of Roi-et primary educational service are 1. Research instruments for experimental were 15 instruction plans by using brain based learning for 15 learning experiences.  Research instruments for collected data were 1) a scientific readiness test, 2) an emotional intelligence test, 3) a learning behavior observation form. Statistics used to analyze data were percentage, mean, standard deviation and hypothesis testing by the Wilcoxon signed-rank test for location. The research were found:                                                        1. The effectiveness of process (E1)  and the effectiveness of result  (E2) of learning management brain based learning for kindergartner level two students were 73.00/81.73.                                   2.  The scientific readiness of kindergartner level two students after learning by brain based learning has the average score increased up 10.57 percent at the .05 level of significance.                                                               3.  The emotional intelligence of kindergartner level two students after learning by brain based learning has the average score increased up 8.78 percent at the .05 level of significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ  1)  พัฒนาแผนการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน  สำหรับเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่  2  ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75  2) เปรียบเทียบความพร้อมทางวิทยาศาสตร์  ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่  2  ที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน  และ  3) เปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์  ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่  2  ที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย  ได้แก่  เด็กปฐมวัย  ชั้นอนุบาลปีที่  2  โรงเรียนประชาราษฎร์รังสรรค์  กลุ่มเครือข่ายทุ่งเขาหลวง  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด  เขต  1 จำนวนนักเรียน  16  คน  เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง  ได้แก่ แผนการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน  จำนวน  15  แผน  สำหรับการจัดประสบการณ์  15  ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล  ได้แก่  1)  แบบทดสอบความพร้อมทางวิทยาศาสตร์  จำนวน  1  ฉบับ  2)  แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์  จำนวน  1  ฉบับ  3) แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน  1  ฉบับ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่  สถิติพื้นฐาน  ร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ทดสอบสมมติฐานการวิจัย โดยใช้การทดสอบวิลคอกซัน  (The Wilcoxon Signed - Rank Test for Location)  ผลการวิจัยพบว่า                                  1.  ประสิทธิภาพของกระบวนการ  (E1)  และประสิทธิภาพของผลลัพธ์  (E2)  ของการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่  2  เท่ากับ  73.00/81.73                                                                                                         2.  ความพร้อมทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่  2  หลังจัดประสบการณ์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานพบว่า  มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ  10.57  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  0.05                                                                                               3.  ความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่  2  หลังจัดประสบการณ์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานพบว่า  มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ  8.78  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความพร้อมทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th
dc.subjectการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานระดับปฐมวัยth
dc.subjectScientific Readinessen
dc.subjectEmotional Intelligenceen
dc.subjectLearning Management by using Brain Based Learning for Kindergartheren
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment  the  Scientific  Readiness  and  the  Emotional  Intelligence  of  Kindergartner  Level  Two  by  Learning  Management  using  Brain  Based  Learningen
dc.titleการพัฒนาความพร้อมทางวิทยาศาสตร์และความฉลาดทางอารมณ์โดยการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่  2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010585014.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.