Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/314
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Yupin Phoomchueng | en |
dc.contributor | ยุพิน ภูมิช่วง | th |
dc.contributor.advisor | Sakorn Atthajakara | en |
dc.contributor.advisor | สาคร อัฒจักร | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T07:20:42Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T07:20:42Z | - |
dc.date.issued | 23/1/2019 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/314 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aimed to 1) Investigate the indicators of components of teacher empowerment for School under Secondary Educational Service Area Office 24, 2) Study the current state and desirable state of teacher empowerment for School under Secondary Educational Service Area Office 24, and 3) develop the teacher empowerment guideline for School under Secondary Educational Service Area Office 24. The research was conducted associated with 3 phases. Key performants of each phases were as follow : phase 1; were five respondents to provide the information by an assessment form. Phase 2; Used Krejcie and Morgan table to fixed size of samples those were 418 administrators and teachers form 55 Schools under Secondary Educational Service Area Office 24 selected by Simple Random Sampling. The research instruments were questionnaire of current conditions was .037 – 0.90 Item – total Correlation and 0.97 reliability, 2) the questionnaires of desirable conditions was 0.21 – 0.74 Item – total correlation and 0.92 reliability. Phase 3; Study 3 best practice schools of the teacher empowerment by a structured interview form. And five respondents to provide the guideline for School under Secondary Educational Service Area Office 24 by the suitability and possibility of assessment form. Descriptive statistics used in this research were mainly percentage, average and standard deviation. The research was found: 1. The indicators of components of teacher empowerment for School under Secondary Educational Service Area Office 24 including 6 components : 1) participation in decision , 2) professional advancement , 3) status has been accepted , 4) self – efficacy , 5) independent of teaching and 6) reflection of the performance. 2. The current conditions of teacher empowerment for School under Secondary Educational Service Area Office 24 at moderate level sort descending three maximum average components were participation in decision – making, status has been accepted, and reflection of the performance. The desirable conditions of teacher empowerment for School under Secondary Educational Service Area Office 24 at highest level, sort descending three maximum average components were professional advancement, participation in decision – making, and status has been accepted. 3. Teacher Empowerment Guideline for School under Secondary Educational Service Area Office 24 including 6 components 25 indicators. The results of guideline suitability assessment at high level, sort descending three maximum average components were participation in decision – making, reflection of the performance, and professional advancement. The result of guideline possibility assessment at high level, sort descending three maximum average components were professional advancement, participation in decision – making, and self – efficacy. In conclusion, Enhance the teacher empowerment need to participation from teacher. So, should do activity to set awareness and support teacher to see the important of teacher acting and participation in personal development. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การเสริมสร้างพลังอำนาจครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 และ 3) พัฒนาแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ มีรายละเอียดผู้ให้ข้อมูล ดังนี้ ระยะที่ 1 ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบ ระยะที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร และครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จำนวน 418 คน จาก 55 โรงเรียน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีเปิดตารางของตาราง เครซี่ มอร์แกน และใช้การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การเสริมสร้างพลังอำนาจครูเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า แบ่งเป็น 1) แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ระหว่าง 0.37 – 0.90 และค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 2) แบบสอบถามสภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงาน มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ระหว่าง 0.21 – 0.74 และค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.92 ระยะที่ 3 ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครูจากผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ จำนวน 3 โรง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง จำนวน 1 ฉบับ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ 74 ได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 2) ความก้าวหน้าในวิชาชีพ 3) สถานภาพการได้รับการยอมรับ 4) การรับรู้ความสามารถของตน 5) ความมีอิสระด้านการสอน และ 6) ผลกระทบจากการทำงาน 2. สภาพปัจจุบันการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โดยรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง องค์ประกอบที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดสามอันดับ นำเสนอตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ สถานภาพการได้รับการยอมรับ และผลกระทบจากการทำงาน สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด องค์ประกอบที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดสามอันดับ นำเสนอตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ความก้าวหน้าในวิชาชีพ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และ สถานภาพการได้รับการยอมรับ 3. แนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จำนวน 6 องค์ประกอบ 25 แนวทาง ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โดยรวม พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก รายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดสามอันดับ นำเสนอตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ผลกระทบจากการทำงาน และความก้าวหน้าในวิชาชีพ ความเป็นไปได้ โดยรวมมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดสามอันดับ นำเสนอตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ความก้าวหน้าในวิชาชีพ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และการรับรู้ความสามารถของตน โดยสรุป การเสริมสร้างพลังอำนาจครู ต้องอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมจากครูเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงควรดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนักและส่งเสริมให้ครูเห็นถึงความสำคัญของการปฏิบัติหน้าที่ครูและให้ความร่วมมือในการพัฒนาตนเอง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การเสริมสร้างพลังอำนาจครู | th |
dc.subject | แนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจ | th |
dc.subject | Teacher Empowerment Enhance | en |
dc.subject | Empowerment Enhance Guideline | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | The Development Teacher Empowerment Guideline for School under Secondary Educational Sevice Area Office 24 | en |
dc.title | การพัฒนาแนวทางเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57010586035.pdf | 4.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.