Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/317
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAnchalee Chaiyakarnen
dc.contributorอัญชลี ไชยขันธุ์th
dc.contributor.advisorSutham Thamatasenahanten
dc.contributor.advisorสุธรรม ธรรมทัศนานนท์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:20:43Z-
dc.date.available2019-10-02T07:20:43Z-
dc.date.issued25/9/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/317-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were (1) to study the components and the indicators of child-centered learning activities in schools under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2 (2) to study current conditions and desirable conditions of child-centered learning activities, and (3) to develop guidelines of child-centered learning activities. The research had been conducting for 3 phases. The first phase was the study of the components and the indicators of child-centered learning activities conducted by 5 academic experts; the second phase was the study of current conditions and desirable conditions of child-centered learning activities conducted by sampling group which consisted of school administrators and teachers for 424 persons selected by Stratified Random Sampling using the table of Krejcie and Morgan and phase 3 was guidelines development of child-centered learning activities duplicated Best Practice from 3 pilot schools by 6 experts. The guidelines were inspected, assured, and appraised by 9 experts using Focus Group method. The study tools were questionnaire, interview, focus group record, and evaluation form. Statistics used to analyze data were index of item-objective congruence (IOC), percentage, MEAN, standard deviation (SD), discrimination, the entire coefficient of reliability at .960, Priority Needs Index (PNI Modified), and content analysis. The research found that: 1. In general, the appropriation of the components and the indicators of child-centered learning activities in schools under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2 was in high level There were 4 aspects: (1) instructors, including 9 indicators, was the highest average (2) learners, including 8 indicators, was high average (3) administrators, including 8 indicators, was high average (4) teaching process; including 9 indicators, was high average. 2. The current conditions and desirable conditions of child-centered learning Activities in proceeding stage was in medium level When examine each item, it found that every item was in medium level : administrators instructors learners teaching process In general, the desirable conditions of child-centered learning activities was in the highest level To examine each item, it found that instructors was the highest average teaching process was the highest average administrators was the highest average and learners was high average PNI­Modified of need assessment in developing the guidelines of child-centered learning activities was arranged from the highest to the lowest as follows : teaching process ; learners instructors and administrators. 3. For the guidelines of child-centered learning activities, it found that there were 16 items  for teacher development; 11 items for learner development; 11 items for administrator development and 14 for teaching process development. The evaluation result of child-centered learning activities conducted by the academic experts revealed that, in general, the appropriation was in high level Each item was high level as the following details : teaching process administrators instructors and learners For the possibility was in the highest level When examine each item, it found that there were 3 items were highest average :teaching process instructors administrators The item of learner was high average. en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ(1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 (2) ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 (3) พัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนและผู้สอน จำนวน 424 คน ใช้เทคนิคการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) และเปิดตารางสำเร็จรูปของ Krejcie and Morgan ระยะที่ 3 การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยศึกษา Best Practices จากโรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจาก 3 โรงเรียน จำนวน 6 คน และตรวจสอบ ยืนยัน ประเมินแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์การสนทนากลุ่ม และแบบประเมิน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .960 ค่าดัชนีความสำคัญต้องการจำเป็น (PNI Modified) และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบและตัวชี้วัดการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 มีองค์ประกอบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประกอบด้วย 4 ด้าน มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย (1) ด้านผู้สอน  มีตัวชี้วัดทั้งหมด 9 ตัวชี้วัด มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ด้านผู้เรียน มีตัวชี้วัด 8 ตัวชี้วัด มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ด้านผู้บริหาร มีตัวชี้วัด 8  ตัวชี้วัด มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (4) ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน มีตัวชี้วัด 9 ตัวชี้วัด มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. สภาพปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ระดับดำเนินการโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับดำเนินการทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านผู้บริหาร ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน ด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอนตามลำดับ สภาพที่พึงประสงค์การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ระดับดำเนินการโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาระดับดำเนินการเป็นรายด้านพบว่า ด้านผู้สอนอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านผู้บริหารอยู่ในระดับมากที่สุด และด้านผู้เรียนอยู่ในระดับมาก ค่าดัชนีความสำคัญของความต้องการจำเป็นในการพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 เมื่อเรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน ด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน และ ด้านผู้บริหาร ตามลำดับ 3. แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 พบว่า ด้านผู้สอนมีแนวทางการพัฒนา 16 ข้อด้านผู้เรียน มีแนวทางการพัฒนา 11 ข้อ ด้านผู้บริหาร มีแนวทางการพัฒนา 11 ข้อ ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน มีแนวทางการพัฒนา 14 ข้อ ผลการประเมินแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 พบว่า ระดับความเหมาะสมโดยรวมของแนวทางการพัฒนาอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก ด้านผู้บริหารอยู่ในระดับมาก ด้านผู้สอนอยู่ในระดับมาก ด้านผู้เรียนอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้โดยรวมของแนวทางการพัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านผู้สอนอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านผู้บริหารอยู่ในระดับมากที่สุด และด้านผู้เรียนอยู่ในระดับมาก ตามลำดับth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาth
dc.subjectการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนth
dc.subjectการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญth
dc.subjectDevelopmenten
dc.subjectInstructional Activitiesen
dc.subjectTeaching Focused on Learnersen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Child-Centered Learning Activity Guideline in Schools under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2  en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010586061.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.